Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 1801-1850
  1. พาธกตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เบียดเบียน
  2. พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  3. พาธ พาธิ : (นปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  4. พาธา : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  5. พาธิ : (ปุ.) การเบียดเบียน, ความเบียดเบียน, การกระทบ, การฆ่า, การทำลาย. หนฺ หึสายํ, ณิ แปลง หนฺ เป็น วธ ทีฆะ อ ที่ ว เป็น อา.
  6. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  7. พาลกี : ค. ผู้มีความโง่เขลา
  8. พาลตฺต : (นปุ.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  9. พาลตา : (อิต.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  10. พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
  11. พาหิรสฺสาท : ค. ผู้แสวงหาความสุขจากสิ่งภายนอก, ผู้ยินดีด้วยสิ่งภายนอก
  12. พาหุลฺย, พาหุลฺล : นป. ความอุดมสมบูรณ์, การเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  13. พาหุลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มักมาก, ความเป็นผู้มักมาก. พหุล+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  14. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  15. พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  16. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  17. พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
  18. พุทฺธญาณ : นป. ญาณของพระพุทธเจ้า, ความรู้ที่กว้างขวางไม่มีขอบเขตจำกัด
  19. พุทฺธตา : อิต. ความเป็นพระพุทธเจ้า, ความเป็นแห่งผู้รู้
  20. พุทฺธปมุข : (วิ.) มีพระพุทธเจ้าเป็นหัวหน้าโดยความเป็นประธาน, มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข.
  21. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  22. พุทฺธมนฺต : นป.พุทธมนต์, พระดำรัสอันแฝงไว้ด้วยความหมายอันลึกซึ้งของพระพุทธเจ้า
  23. พุทฺธลีลา : อิต. ความสง่างามในการเคลื่อนไหวของพระพุทธเจ้า
  24. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  25. พุทฺธิมนฺตุ : ค. ผู้ฉลาด, ผู้มีความรู้, ผู้มีปัญญา
  26. โพชฺฌงฺคโกสลฺล : นป. ความเป็นผู้ฉลาดในโพชฌงค์
  27. โพชฺฌา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ปัญญาเป็นเครื่องบรรลุ, ความรู้, ปัญญา.
  28. โพธ : (ปุ.) อันรู้, อันตรัสรู้, อันเข้าใจ, อันฉลาด, ความรู้, ฯลฯ. พุธฺ โพธเน, โณ.
  29. โพธน : (นปุ.) อันรู้, อันตรัสรู้, อันเข้าใจ, อันฉลาด, ความรู้, ฯลฯ. พุธฺ โพธเน, โณ.
  30. โพธิญาณ : (ปุ.) ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้, โพธิญาณ คือ ความตรัสรู้ที่ได้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า.
  31. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  32. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  33. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  34. โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
  35. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  36. ภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งการกล่าว. ภน+ณฺย ปัจ. ภาวทัต. การกล่าว. ณฺย ปัจ. สกัด.
  37. ภทฺทา, ภทฺทิกา : อิต. หญิงที่มีความเจริญดี
  38. ภนฺตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความประหลาดใจ.
  39. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  40. ภพฺพตา : อิต. ความสามารถ, ความเหมาะสม
  41. ภมน : (นปุ.) การหมุนไป, การแล่นไป, ความหมุนไป, ความแล่นไป. ยุ ปัจ.
  42. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  43. ภยาคติ : (อิต.) ความลำเอียงอันเกิดจากความกลัว, ความลำเอียงเพราะความกลัว.
  44. ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
  45. ภว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น, ความเจริญ, ความเกิด, การเกิด, การถึง, ธาตุมีกามธาตุเป็นต้น, สังสาร, สัสสติทิฏฐิ, ประเทศที่เกิด, ที่เกิด, ภพ. ภู สตฺตายํ, อ. แปลว่า โลก แผ่นดิน ก็มี.
  46. ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
  47. ภวทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นว่ามี, ความเห็นว่าเป็น, ความเห็นว่าเที่ยง, ความเห็นในความมี, ฯลฯ.
  48. ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
  49. ภวนิกฺขมน : (นปุ.) อันออกไปจากภพ, ความออกไปจากภพ.
  50. ภวโยค : (ปุ.) เครื่องมัดสัตว์คือความพอใจในความมีความเป็น, เครื่องมัดสัตว์ คือความประกอบอยู่ในภพ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | [1801-1850] | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1372 sec)