Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความดูแล, ดูแล, ความ , then ความ, ความดูแล, ดล, ดูแล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความดูแล, 3726 found, display 2601-2650
  1. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  2. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  3. อกฺโกธ อโกธ : (ปุ.) ความไม่โกรธ. นปุพฺโพ, กุธฺ โกเป, อ.
  4. อกฺขณาเวธี : ป. นายขมังธนูผู้มีความชำนาญในการยิงศรอย่างสายฟ้าแลบ
  5. อกฺขย : ๑. นป. ความสงบสุข, พระนิพพาน ; ๒. ค.ไม่เปลี่ยนแปลง, ยั่งยืน
  6. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  7. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  8. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  9. อกมฺปิยตฺต : นป. ความไม่หวั่นไหว, ความไม่คลอนแคลน
  10. อกมฺปียตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันโลกธรรมให้หวั่นไหวไม่ได้.
  11. อกมฺมกิริยาอกมฺมกฺริยา : (อิต.) กิริยาไม่มีกรรม คือกิริยาที่ได้ความสมบรูณ์มิต้องมีกรรมคือผู้ถูกทำมารับ, กิริยาที่ไม่ต้องเรียกหากรรม
  12. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  13. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  14. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  15. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  16. อกิจฺฉน : (วิ.) หมดความขวนขวายในการงาน วิ. นตฺถิ กิญจนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน.จน, เข็ญใจ.วิ.นตฺถิกิญฺจนํ อปฺปมตฺตมฺปิธนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน. ส. อกิญจน.
  17. อกิญฺจน : (วิ.) มีกิเลสเครื่องกังวลไม่มี, ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล, ไม่มีกิเลสชาตเครื่องกังวล, ไม่มีความกังวล, ไม่มีห่วงใย, ปลอดโปร่ง. นปุพฺโพ, กิจิ มทฺทเนทเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม,
  18. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  19. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  20. อกิลมน : (วิ.) มีความลำบากหามิได้, ไม่มีความลำบาก, มิใช่ความลำบาก, มีความเหน็ดเหนื่อยหามิได้, ฯลฯ นปุพฺโพ, กิลมุ คิลาเน, ยุ.
  21. อกุปฺปตา : อิต. ความไม่กำเริบ, ความไม่หวั่นไหว, ความถาวร
  22. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  23. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  24. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  25. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  26. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  27. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  28. อคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้เลิศ, ผู้เลิศ; ความยอดเยี่ยม
  29. อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
  30. อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
  31. อครุ : (ปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  32. อครุ อคลุ อคฬุ : (นปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  33. อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
  34. องฺคปจฺจงฺคตา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยองค์ คือ ผู้มีร่างกายสมบูรณ์
  35. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  36. อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  37. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  38. อจฺจนา : (อิต.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  39. อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
  40. อจฺจสรา : อิต. ความหยิ่ง, ความถือตัว
  41. อจฺจุณฺณ : ๑. ป. ความร้อนจัด ; ๒. ค. ร้อนจัด, เดือดพล่าน
  42. อจฺโจทร : นป. การกินมาก, ความตะกละ
  43. อจฺฉมฺภี : (วิ.) ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่มีความครั่นคร้าม, ไม่สะดุ้ง, ฯลฯ. น+ฉมฺภีซ้อน จ.
  44. อจฺฉริย : ๑. นป. ความอัศจรรย์; ๒. ค. น่าอัศจรรย์, น่าแปลกใจ
  45. อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
  46. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  47. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  48. อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  49. อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  50. อจินฺเตยฺย : (วิ.) อันบุคคลไม่ควรคิด, อันใครๆไม่ควรคิด(พ้นความคิด), ไม่ควรคิด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | [2601-2650] | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3726

(0.1346 sec)