Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสะอาด, สะอาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสะอาด, 3772 found, display 1801-1850
  1. พฺยาวจฺจ : (นปุ.) ความขวน ขวาย, ความกระตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วจฺจ อชฺฌายเน, อ.
  2. พฺยาส : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความพิสดาร, ความยืดยาว, ความเนิ่นช้า, ความเนิ่นนาน, ความซึมซาบ. วิ ปพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ.
  3. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  4. พฺรหฺมญฺญตา : (อิต.) ความปฏิบัติเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พรหม, ความประพฤติเกื้อกูลแก่พรหม. ตา ปัจ. สกัด.
  5. พฺรหฺมปตฺต : ค. ถึงภาวะแห่งพรหม, ถึงความเป็นผู้ประเสริฐ
  6. พฺรหฺมปฺโผฏน : นป. การปรบมือแสดงความยินดีอันยิ่งใหญ่
  7. พฺรหฺมปรายน : ค. มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีเหตุอันจะต้องเข้าถึงความเป็นพรหม
  8. พฺรหฺมยาน : นป. พรหมยาน, ยานอันประเสริฐ, ทางแห่งความดีอันประเสริฐ
  9. พฺรหฺมยานิย : ค. ซึ่งนำไปสู่ความเป็นพรหม
  10. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  11. พฺราหฺมญฺญตา : อิต. ความเป็นพราหมณ์
  12. พฺราหฺมณสจฺจ : นป. ความจริงอันประเสริฐ
  13. พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
  14. พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ; ๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
  15. พลตา : อิต. ความมีกำลัง, ความมีอำนาจ
  16. พลฺย : นป. ความเป็นผู้มีกำลัง, ความแข็งแรง; ความโง่เขลา
  17. พลวโสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกมีกำลังครอบงำแล้ว.
  18. พลิปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนด้วยภาษี, มีความเดือดร้อนเพราะถูกเก็บภาษี
  19. พหลตฺต : นป. ความหนา, ความมีมาก; การเพิ่มขึ้น
  20. พหุการตฺต : นป. ความมีการกระทำมาก; ความเป็นผู้มีอุปการะมาก
  21. พหุฐาน : นป. (การเห็น) การณ์ไกล, ความคิดรอบคอบ
  22. พหุตฺต : นป. ความมากมายหลากหลาย
  23. พหุภาณิตา : อิต. ความเป็นผู้พูดมาก
  24. พหุภาว : ป. ความมีมาก, ความร่ำรวย
  25. พหุมนฺต : ค. มีมนต์มาก, มีความคิดมาก, มีปัญญาดี
  26. พหุมาน : ป., พหุมานน นป. ความเคารพนับถือมาก
  27. พหุลตา : อิต., พหุลตฺต นป. ความมีมาก
  28. พหุลาชีว : ค. มีความเป็นอยู่อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย
  29. พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
  30. พหุวิฆาต : ค. มีความผิดหวัง, มีความคับแค้น, มีทุกข์อย่างใหญ่หลวง
  31. พหุสงฺกปฺป : ค. มีความดำริมาก, มีความคิดมาก
  32. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  33. พหุสุต, พหุสุตก, พหุสฺสุต, พหุสฺสุตก : ค. พหูสูต, ผู้มีความรู้มาก, ผู้คงแก่เรียน, ผู้ได้ยินได้ฟังมาก, นักปราชญ์
  34. พาธกตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เบียดเบียน
  35. พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  36. พาธ พาธิ : (นปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  37. พาธา : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
  38. พาธิ : (ปุ.) การเบียดเบียน, ความเบียดเบียน, การกระทบ, การฆ่า, การทำลาย. หนฺ หึสายํ, ณิ แปลง หนฺ เป็น วธ ทีฆะ อ ที่ ว เป็น อา.
  39. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  40. พาลกี : ค. ผู้มีความโง่เขลา
  41. พาลตฺต : (นปุ.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  42. พาลตา : (อิต.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  43. พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
  44. พาหิรสฺสาท : ค. ผู้แสวงหาความสุขจากสิ่งภายนอก, ผู้ยินดีด้วยสิ่งภายนอก
  45. พาหุลฺย, พาหุลฺล : นป. ความอุดมสมบูรณ์, การเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  46. พาหุลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มักมาก, ความเป็นผู้มักมาก. พหุล+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  47. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  48. พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  49. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  50. พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | [1801-1850] | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3772

(0.1003 sec)