Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสะอาด, สะอาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสะอาด, 3772 found, display 501-550
  1. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  2. จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
  3. จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
  4. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  5. จตุพฺพิปลฺลาส : ป. วิปัลลาสสี่, ความเคลื่อนสี่อย่าง, ความเปลี่ยนแปลงสี่อย่าง
  6. จตุรงฺคตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดมีองค์สี่ คือ ค่ำ ป่าชัฏ เมฆทึบ และเที่ยงคืน.
  7. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  8. จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
  9. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  10. จนฺท จนฺทน : (นปุ.) ความสบายใจ, ความสุขใจ
  11. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  12. จปลตา : อิต. ความกวัดแกว่ง, ความหวั่นไหว
  13. จปลนา : (อิต.) ความกลับกลอก, ฯลฯ จฺปุ ธาตุ ยุ ปัจ. ลฺ อาคม ท่ามกลาง อาอิต.
  14. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  15. จรณวนฺตุ : ค. ผู้มีจรณะ, ผู้มีความประพฤติชอบ
  16. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  17. จริต, - ตก : นป. จริต, ความประพฤติ, นิสัย; ชีวิต, ความเป็นอยู่
  18. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  19. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  20. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  21. จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
  22. จวน : (นปุ.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. จุ จวเน, ยุ.
  23. จวนตา : อิต. ความเป็นคืออันเคลื่อน, ความจุติ, ความเคลื่อน
  24. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  25. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  26. จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
  27. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  28. จาคสมฺปทา : อิต. จาคสัมปทา, ความถึงพร้อมด้วยการบริจาค
  29. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  30. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  31. จาตุริย : นป. ความฉลาด, ความชำนาญ, ความสันทัด
  32. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  33. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  34. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  35. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  36. จาล : (ปุ.) การไหว, ฯลฯ, ความไหว, ฯลฯ จลฺ กมฺปเน, โณ.
  37. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  38. จิณฺณวสี : ค. ผู้มีความชำนาญอันตนประพฤติแล้ว, ผู้ปฏิบัติเชี่ยวชาญแล้ว
  39. จิตฺตกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  40. จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
  41. จิตฺตกลฺลตา : อิต. ความพรั่งพร้อมแห่งจิต, การฉับไวแห่งจิต
  42. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  43. จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
  44. จิตฺตเกฬิสา : อิต. ความรื่นรมแห่งจิตใจ
  45. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  46. จิตฺตปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  47. จิตฺตปีฬา : (อิต.) ความเบียดเบียนจิต, ความบีบคั้นจิต, การสลบ, ความสลบ.
  48. จิตฺตมล : นป. มลทินแห่งจิต, ความหม่นหมองแห่งจิต
  49. จิตฺตมุทุตา : อิต. ความอ่อนโยนแห่งจิต
  50. จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3772

(0.0520 sec)