Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวเนื่อง, เนื่อง, เกี่ยว, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวเนื่อง, 3847 found, display 1251-1300
  1. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  2. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  3. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  4. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  5. นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
  6. นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
  7. นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
  8. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  9. นานาจิตฺต : ค. มีจิตใจแตกต่างกัน, มีความคิดไม่เหมือนกัน
  10. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  11. นานาวาส : ค. มีวาทะต่างๆ กัน; มีความคิดไม่เหมือนกัน
  12. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  13. นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
  14. นาส : (ปุ.) ความตาย, ความเสื่อม, ความฉิบ หาย, ความพินาศ, ความย่อยยับ ความป่นปี้, การทำลาย, การฆ่า, การฆ่าฟัน. นสฺ อทสฺสเน, โณ. ส. นาศ.
  15. นาฬิเกริก : ค. อันเนื่องด้วยต้นมะพร้าว, ซึ่งมีต้นมะพร้าว
  16. นิกฺกงฺข : ค. ไม่มีความสงสัย, หมดความสงสัย, ไว้ใจได้
  17. นิกฺกงฺขา : อิต. การไม่มีความสงสัย
  18. นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
  19. นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
  20. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  21. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  22. นิกฺกาม, - มี : ค. ปราศจากกาม, ไม่มีความใคร่, หมดความอยาก
  23. นิกฺกามี : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว, ฯลฯ.
  24. นิกฺโกธ : ค. ผู้ไม่มีความโกรธ
  25. นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
  26. นิกฺขม : (ปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  27. นิกฺขมน : (นปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  28. นิกฺเขปปท : (นปุ.) บทตั้ง, นิเขปบท (หัว เรื่อง ความย่อ).
  29. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  30. นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
  31. นิกาม : นป. ความใคร่, ความอยากได้, ความมักมาก
  32. นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
  33. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  34. นิคฺคหณ นิคฺคณฺหณ นิคคณฺหน : (นปุ.) การข่ม, ฯลฯ, ความข่ม, ฯลฯ.
  35. นิคฺคุณ : ค. ซึ่งปราศจากคุณความดี, เลว
  36. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  37. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  38. นิจฺจตา : อิต. ความเป็นของเที่ยง, ความเป็นของแท้, ความเป็นของยั่งยืน, ความถาวร
  39. นิจฺจสญฺญา : อิต. ความสำคัญหมายว่าเที่ยง, แน่นอน
  40. นิจฺจสญฺญี : ค. มีความสำคัญหมายว่าเที่ยงหรือแน่นอน
  41. นิจฺจิตฺตก : ค. ผู้ไม่มีความนึกคิด, ผู้ปราศจากจิตคิดถึง, ผู้ไม่ทันคิด
  42. นิจฺฉนฺท : ค. ผู้ปราศจากความพอใจ, ผู้ไม่มีความพอใจ
  43. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  44. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  45. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  46. นิชฺชฏ : ค. หมดความยุ่งยาก, หลุดออก, แก้ออก
  47. นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ, ๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
  48. นิชฺฌาปย : ค. มีความพินิจพิจารณา, มีความพินิจพิเคราะห์
  49. นิชฺฌามตณฺห : ค. ผู้ถูกตัณหาเผาผลาญ, ผู้อันตัณหาแผดเผา, ผู้มีความอยากมาก
  50. นิชฺฌายติ : ก. ตรึกตรอง, คิด; หมดไป, สิ้นไป; ถูก (ความทุกข์) แผดเผา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3847

(0.1202 sec)