Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 3801-3850
  1. กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
  2. โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
  3. คุตฺตินฺทฺริย : ค. ผู้มีอินทรีย์อันคุ้มครองแล้ว, ผู้บังคับตนได้
  4. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  5. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  6. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  7. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  8. จิณฺณฏฐาน : นป. ที่ตนเคยเที่ยวไปแล้ว; ฐานะที่เคยประพฤติมาแล้ว
  9. จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
  10. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  11. ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
  12. ชาครติ : ก. ตื่น, ระมัดระวัง, เฝ้าดู
  13. โชติมาลิกา : อิต. การทรมานร่างกายอย่างหนึ่งคือการย่างตน
  14. ฐานานุรูป : (วิ.) ควรแก่ตำแหน่ง, สมควรแก่ ตำแหน่ง, สมควรแก่ฐานะ, เหมาะแก่ ฐานะ, ฐานานุรูป ( ควรสมควรแก่สภาพ ของตน ).
  15. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  16. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  17. ตนุชา : อิต. ดู ตนยา
  18. ตปสฺสี : ๑. ป. นักพรต, ฤษี; ๒. ค. ผู้บำเพ็ญตบะ, ผู้ทรมานตน, ผู้เผากิเลส
  19. ติสรณคมนุปสฺปทา ติสรณคมนูปสมฺปทา : (อิต.)การอุปสมบทด้วยการถึงสรณะสาม, ติสรณคมนุปสัมปทา ติสรณคมนูปสัมปทา คือการอุปสมบทด้วยการปกิญญาณตน ถึงไตรสรณคมน์ เป็นชื่อของวิธีอุปสมบท อย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง เมื่อพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาต วิธีอุปสมบทอย่างที่ ๓ แล้ว ทรงอนุญาตวิธีอย่างที่ ๒ นี้เป็นวิธี บรรพชาการบวชเป็นสามเณร.
  20. ตุม : ป. ตน, ตนเอง
  21. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  22. ทิฏฺฐปท : ค. (อริยสาวก) ผู้มีบทอันตนเห็นแล้ว; พระโสดาบัน
  23. ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
  24. เทวญฺญตร : ป. เทพตนใดตนหนึ่ง, เทพชั้นต่ำ
  25. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  26. ธุตวต : นป. การปฏิญาณตนเพื่อปฏิบัติธุดงค์
  27. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  28. นารท : (ปุ.) นารทะ พระนามของพระพุทธเจ้า องค์หนึ่ง ชื่อลูกพระพรหม ชื่อฤาษีตน หนึ่งผู้ชำนาญการพยากรณ์และผู้เป็นต้น ประดิษฐ์ดนตรี ชื่ออำมาตย์. ส. นารท.
  29. นิการ : ป. การรับใช้, บริการ, ถ่อมตน
  30. นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
  31. นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
  32. นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
  33. นิพตฺติ นิพฺพตฺติ : (อิต.) แปลเหมือน นิพฺพตฺตน. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วตฺตฺ วตฺตเน วา, อิ.
  34. นิพฺพตฺติ : อิต. ดู นิพฺพตฺตน
  35. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  36. นิยปุตฺต : (ปุ.) ลูกเกิดแต่ตน, ลูกของตน.
  37. นิรตฺต : ค. ไม่มีอัตตา, ไร้ตัวตน, ไม่มีตน; ถูกทอดทิ้ง, ถูกละทิ้ง
  38. ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
  39. ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
  40. ปณิปาติก : ค. อ่อนน้อม, ถ่อมตน, ภักดี
  41. ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
  42. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  43. ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
  44. ปหาราท : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  45. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  46. เปสิ : (ปุ.?) ไข่, ถั่วฝักยาว, ก้อนข้าว. เปสิ ชื่อปีศาจตนหนึ่ง ชื่อแม่น้ำสายหนึ่ง.
  47. พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
  48. พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
  49. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  50. มชฺฌตฺต : (ปุ.) ตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัธยัต, อุเบกขา. วิ. มชฺเฌ ฐโต อตฺตา สภาโว มชฺฌตฺโต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | [3801-3850] | 3851-3900 | 3901-3939

(0.1307 sec)