Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 3851-3900
  1. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  2. มหานรก : (ปุ.) นรกใหญ่, มหานรก. มหานรก มี ๘ ขุม คือ สัญชีวนรก ๑ กาฬสุตตนรก ๑ สังฆาตนรก ๑ โรรุวนรก ๑ มหาโรรุวนรก ๑ ตาปนรก ๑ มหาตาปนรก ๑ อวีจีนรก ๑
  3. มิคว : (ปุ.) ตนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเคหนฺตีติ มิคโว. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น ว. มิเค วนตีติ มิคโว. วนฺ พาธเน, กวิ. ลบที่สุดธาตุ.
  4. มิจฺฉาปณิหิต : ค. นำผิด, ตั้งตนไว้ผิด
  5. ยถาพล : ก.วิ. ตามกำลังแห่งตน
  6. ยถาสตฺตึ : ก. วิ. ตามสติกำลังของตน
  7. ยถิจฺฉิต : (วิ.) อันตนปรารถนาแล้วอย่างไร.
  8. วสี : ค. ผู้มีอำนาจ, ผู้ชนะตน
  9. เวปจิตฺติ : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  10. : อ. กับ, เป็นไปกับ, ของตน
  11. สกฺกาย : ป. กายของตน
  12. สกพล : นป. กำลังของตน, คำข้าวในปากของตน
  13. สกมฺม : นป. การงานของตน
  14. สกวาที : ป. ผู้กล่าวถ้อยคำฝ่ายตน
  15. สกิจฺจ : นป. ธุระของตน
  16. สกีย : ค. ของแห่งตน
  17. สจิตฺต : นป. จิตของตน
  18. สทตฺถ : ป. ประโยชน์ของตน
  19. สทาร : ป. ภรรยาของตน
  20. สนฺตุฏฺฐ : กิต. ยินดีแล้วด้วยของของตนที่มีอยู่
  21. สนฺธน : นป. ทรัพย์ของตน
  22. สนฺนิเกต : (ปุ.) บ้านของตน, เรือนของตน, ส+นิเกต ซ้อน นฺ.
  23. สปชาปติก : ค. กับภรรยาของตน
  24. สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
  25. สมฺปวงฺก : (ปุ.) บุคคลผู้ยังตนให้เงื้อมไป, บุคคลผู้คล้อยตาม, เพื่อน. สํ ปปุพฺโพ, วกิ คติยํ, อ.
  26. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  27. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  28. สยมติ : ก. สำรวม, บังคับใจตน
  29. สรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่ง, การถึงสรณะ, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่ง, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ, สรณคมน์ คือการรับเอาพระรัตนตรัยได้แก่พระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นการปฏิญญาณตนว่าเป็นอุบาสก อุบาสิกานับถือพระพุทธศาสนา.
  30. สานิ : (วิ.) นี้แห่งตน, นี้ของตน.
  31. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  32. สาฬสฺถิก : (วิ.) ประกอบด้วยมือของตน, เกิดแล้วด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน. สหตฺถ+ณิก ปัจ.
  33. สุเมธ : (ปุ.) คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์, สุเมธะ ชื่อฤาษีตนหนึ่ง, พระสุเมธะ พระนามของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  34. เสนาสนฺตฎฺฐ : (วิ.) ผู้ไม่ยินดีแล้วในสมบัติของตน, ไม่ยินดีแล้วด้วยราชสมบัติของพระองค์. ส+อิน(สมบัติ)+อสนฺตุฎฺฐ.
  35. หุ หุกชาติก : (ปุ.) หุงหุกชาติกะ ชื่อพราหมญ์ตนหนึ่ง มักตวาดผู้อื่นว่า หึหึ.
  36. อกิจฺจการ : ค. ผู้ไม่ทำตามหน้าที่ของตน, ผู้ทำสิ่งที่ไม่ควรทำ,ไม่มีผล (ยา).
  37. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  38. องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
  39. อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
  40. อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
  41. อชฺฌาคาเร : ก.วิ. ภายในบ้านของตน
  42. อตฺตกิลมถ : ป. การทรมานตน, การทำตนให้ลำบาก
  43. อตฺตคุตฺต : ค. ผู้คุ้มครองตน, ผู้มีตนอันคุ้มครองแล้ว
  44. อตฺตคุตฺติ : อิต. การรักษาตน, การระวังตน
  45. อตฺตช : ป. บุตร, ลูก, ผู้เกิดจากตน ; ผู้เกิดจากตน
  46. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  47. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  48. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  49. อตฺตนฺตป : ค. ทำตนให้เร่าร้อน, ทรมานตน
  50. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | [3851-3900] | 3901-3939

(0.1452 sec)