Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงร้อง, เสียง, ร้อง , then รอง, ร้อง, สยง, เสียง, เสียงร้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียงร้อง, 395 found, display 301-350
  1. อวฺหาต : กิต. เรียกแล้ว, ร้องเรียกแล้ว
  2. อวฺหาน : นป. ชื่อ, การร้องเรียก, การขานชื่อ
  3. อสทฺท : (วิ.) ไม่มีเสียง, นิ่ง, สงบ, เงียบ.
  4. อสิโลก : อิต. ชื่อเสียงเลว, ชื่อเสียงไม่ดี
  5. อหุหาริย : นป. หัวเราะลั่น, หัวเราะเสียงดัง
  6. อามนฺต : ค. ถูกร้องเรียก, ถูกถามหา, ได้รับเชิญ
  7. อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
  8. อามนฺตนก : ค. ผู้ร้องเรียก, ผู้เชื้อเชิญ, ผู้ปรึกษา
  9. อามนฺเตติ : ก. เรียก, ร้องเรียก, เชื้อเชิญ; ปรึกษา
  10. อายสกฺย : นป. ความดูหมิ่น, ความเสื่อมเสีย, ชื่อเสียงเสีย
  11. อารวน : (นปุ.)เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงมี่ (เสียงอึกทึก).เสียงอึงมี่(เสียงอึกทึกระงมไป).อาปุพฺโพ, รุสทฺเท.โณ, ยุ.ส.อารว.
  12. อารวอาราว : (ปุ.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงมี่ (เสียงอึกทึก).เสียงอึงมี่(เสียงอึกทึกระงมไป).อาปุพฺโพ, รุสทฺเท.โณ, ยุ.ส.อารว.
  13. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  14. อาลปติ : ก. เรียกร้อง, ทักทาย, สนทนา
  15. อาลปน : (นปุ.) การร้องเรียก, การบอกเล่า, การกล่าว, การพูด, การสนทนา, คำทัก, คำร้องเรียก, คำกล่าวโดยทำต่อหน้า, การกล่าวโดยทำต่อหน้า, วิ.อภิมุขํกตฺวาลปนํอาลปนํ.ส.อาลปน.
  16. อาลปนตา : อิต. การร้องเรียก, การทักทาย
  17. อาลปนา : อิต. การร้องเรียก, การวิงวอน
  18. อาสภฏฺฐาน : นป. คอกวัว, ตำแหน่งที่มีชื่อเสียง, ความเป็นผู้นำ
  19. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  20. อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
  21. อุกฺกุฏฐิ : อิต. การตะโกน, การแผดเสียง, การโพนทะนา
  22. อุคฺโฆส : (ปุ.) ความกึกก้อง, ความเกรียวกราว, ความเล่าลือ, เสียงเล่าลือ. อุปุพฺโพ, ฆุสฺ สทฺเท, อ, ยุ, ส. อุทฺโฆษ.
  23. อุคฺโฆสน : (นปุ.) ความกึกก้อง, ความเกรียวกราว, ความเล่าลือ, เสียงเล่าลือ. อุปุพฺโพ, ฆุสฺ สทฺเท, อ, ยุ, ส. อุทฺโฆษ.
  24. อุคฺโฆเสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ทำเสียงเกรียวกราว
  25. อุจฺจตรสฺสร : (ปุ.) เสียงสูงกว่า.
  26. อุจฺจาเรติ : ก. เปล่งเสียง, ชูขึ้น
  27. อุจฺจาสทฺท : (ปุ.) เสียงสูง, เสียงดัง.
  28. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  29. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  30. อุนฺนทติ : ก. แผดเสียง, คำราม, ตะโกน
  31. อุนฺนาท : ป. การแผดเสียง, เสียงอึกทึก
  32. อุนฺนาเทติ : ก. ให้เสียงกึกก้อง
  33. อุปคายติ : ก. ร้องเพลง
  34. อุปฺปาฬาเสติ : ก. เปล่งเสียง, ออกเสียง
  35. อุปรวติ : ก. ร้อง, ตะโกน
  36. อุปโรทติ : ก. เศร้าโศก, เสียใจ, ร้องคราง
  37. อุปลาเสติ : ก. เป่า, ให้เสียง
  38. อุปวฺหยติ : ก. เรียก, ร้องเรียก
  39. อุปฬาเสติ : ก. เป่า, ให้เสียง
  40. อุรณ : (ปุ.) แกะ, แพะ. วิ. น รณตีติ อุรโณ (ไม่ร้องดัง). อุปุพฺโพ ปฏิเสเธ, รณฺ สทฺเท, อ. ส. อุรณ อุรภฺร.
  41. อุลฺลปติ : ก. พูดอวด, พูดหลอก, ร้องเรียก
  42. อุลฺลปน : (นปุ.) คำอัน...กล่าวขึ้น, คำกล่าว อ้าง, การกล่าวอ้าง, การเรียกร้อง. อุปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, ยุ.
  43. อุสฺสาท : ป. ความเต็มเปี่ยม, ความมากมาย; ความวุ่นวาย, เสียงกึกก้อง
  44. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  45. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  46. อูมิกา : อิต. แหวน; คลื่น; เสียงหึ่งของผึ้ง
  47. เอกนินฺนาท : ป. การร้องขึ้นพร้อมกัน
  48. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  49. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  50. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-395

(0.0464 sec)