Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหมาะสำหรับ, สำหรับ, เหมาะ , then สำหรับ, หมา, หมาสำหรบ, เหมา, เหมาะ, เหมาะสำหรับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหมาะสำหรับ, 399 found, display 101-150
  1. ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
  2. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  3. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  4. ชีร : (นปุ.) มีดสำหรับใช้เครื่องบูชา, เมล็ด ผักชี, เมล็ดยี่หร่า. ส. ชีร.
  5. เช : (อัพ. นิบาต) แม่, แนะสาวใช้. คำสำหรับ นายเรียกสาวรับใช้.
  6. ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
  7. เญยฺยธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่พึงรู้, ธรรมที่ควรรู้. วัตถุเครื่องปิด, ฯลฯ, วัตถุสำหรับปิด, ฯลฯ ผ้า ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ.
  8. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  9. ฐานานุรูป : (วิ.) ควรแก่ตำแหน่ง, สมควรแก่ ตำแหน่ง, สมควรแก่ฐานะ, เหมาะแก่ ฐานะ, ฐานานุรูป ( ควรสมควรแก่สภาพ ของตน ).
  10. ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
  11. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  12. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  13. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  14. ตทนุรูป : ค. สมควรแก่สิ่งนั้น, เหมาะสม
  15. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  16. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  17. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  18. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  19. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  20. โตมร : (ปุ.) หอก ( แทกตีนช้าง), หอกซัด, อาวุธสำหรับซัด,โตมร( สามง่ามที่มีปลอก รูปใบโพธิ์สวมอยู่). วิ. ตุชฺชติ อเนนาติ โตมโร.ตุท. พฺยถเน, อโร, ทสฺส โม, โอตฺตํ (แปลง อุ เป็น โอ ). ส. โตมร.
  21. ถนปฏก : (ปุ. นปุ.) ผ้าสำหรับคาดซึ่งนม,ผ้าคาดนม,ผ้าเคียนนม.
  22. ถาล : (ปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
  23. ถาลก : (นปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
  24. ถูปิกา : (อิต.)กระเบื้องสำหรับมุง, กระเบื้อง หลบ.
  25. - ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
  26. ทณฺฑกฏฺฐ : (นปุ.) ไม้สำหรับลงอาชญา.
  27. ทณฺฑฆาต : (ปุ.) การฆ่าด้วยอาชญา, ทัณฑฆาตชื่อเครื่องหมายสำหรับฆ่าอักษร ทำให้ไม่ต้องออกเสียงอักษรตัวนั้น มีรูป ดังนี้ ์
  28. ทณฺฑปรายน : ค. ผู้มีไม้เท้าเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้อาศัยไม้เท้าสำหรับยัน, ผู้ใช้ไม้เท้า
  29. ทณฺฑวากรา : อิต. ตาข่ายขัดไม้ (สำหรับดักสัตว์)
  30. ทณฺฑเวฬุเปสิกา : อิต. ไม้เรียวทำด้วยไม้ไผ่สำหรับลงโทษ, ไม้พลองทำด้วยไม้ไผ่
  31. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  32. ทฺวิชมหาสาล : ป. พราหมณ์มหาศาล, คือพราหมณ์ผู้มีทรัพย์ที่เก็บไว้ ๘๐ โกฏิและสำหรับใช้สอย ๑๐ อัมพณะ
  33. ทาฐรท : (ปุ.) ฟันสำหรับเคี้ยว, เขี้ยวและฟัน.
  34. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  35. ทานวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุสำหรับให้, วัตถุสำหรับให้ทาน, ทานวัตถุ. ทานวัตถุมี ๑๐ อย่าง คือ อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธํ (นับ ๒) วิเลปนํ เสยฺยาวสถํ (นับ ๒), ปทีเปยฺยํ.
  36. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  37. ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
  38. ทีปกมิค : (ปุ.) เนื้อสำหรับต่อ, เนื้อต่อ.
  39. ทีปรุกฺข : (ปุ.) คบ ชื่อของใช้สำหรับจุดไฟให้สว่าง, คบไฟ, โคมมีด้าม, ประทีปมีด้าม.
  40. เทยฺยทาน : (นปุ.) ทานอัน...พึงให้, ฯลฯ, ไทยทาน (ของควรให้ของสำหรับทำทาน).
  41. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  42. เทเวตาปริโภค : ค. ซึ่งเทวดาควรบริโภค, ควรเป็นของบริโภคสำหรับเทวดา
  43. โทหก : นป. ภาชนะสำหรับรีดนม, หม้อนม, ถังนม
  44. โทหฬายติ : ก. แพ้ท้อง, อยากอย่างแรง (สำหรับหญิงตั้งครรภ์)
  45. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  46. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  47. ธมฺมปีฐ : (นปุ.) ตั่งอันบุคคลตั้งไว้เพื่อรักษา ธรรม, ที่นั่งอันบุคคลตั้งไว้สำหรับแสดง ธรรม, ธรรมาสน์.
  48. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  49. ธาราเคห : (นปุ.) เรือนมีท่อน้ำ, ห้องสำหรับอาบน้ำ, ห้องอาบน้ำมีผักบัว.
  50. ธูป : (ปุ.) ธูป เครื่องหอมสำหรับจุดเอาควันลม เครื่องหอมสำหรับจุดบูชา. ธูปฺ สนฺตาเป, อ. ส. ธูป.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-399

(0.0374 sec)