Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าแก๊ป, แก๊ป, เข้า , then กป, แก๊บ, แก็ป, แก๊ป, ขา, เข้, เข้า, เข้าแก๊ป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าแก๊ป, 409 found, display 351-400
  1. ชณฺณุ : นป., ชณฺณุกา อิต. เข่า
  2. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  3. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  4. ชางฺฆณี : (อิต.) ขา, ขาอ่อน. ส. ชางฺคนี.
  5. ชาณุ : ป. เข่า
  6. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  7. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  8. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  9. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  10. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  11. ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
  12. ทพฺภ : (ปุ.) หญ้าคา. ทุ ปริตาเป, อพฺโภ. แปลว่า ข่า ก็มี. เป็นทพฺภิ บ้าง.
  13. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  14. เทหก : นป. ดู เทห(เมื่อใช้ในรูปพหูพจน์ แปลว่า แขนขา)
  15. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  16. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  17. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  18. ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
  19. ปงฺคุ, ปงฺคุล : ป., ค. ขาเขยก, คนพิการ
  20. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  21. ปฏิสงฺขาย : กิต. ดู ปฏิสงฺขา
  22. ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
  23. ปาทฏฺฐิก : นป. กระดูกเท้า, กระดูกขา
  24. พริหิส : นป. หญ้าคา; ข่า
  25. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  26. พุนฺทิกาพทฺธ : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่เนื่องเป็นอันเดียวกันกับขา.
  27. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  28. ภูริ : (ปุ.) คนมีปัญญา, ฯลฯ, นักปราชญ์. วิ. ภูสงฺขาเต อตฺเถ รมตีติ ภูริ. ภูปุพฺโพ, รมฺ รมเณ, กฺวิ, อิ อาคโม.
  29. มญฺจาธาร : (ปุ.) ขาเตียง. มญฺจ+อาธาร.
  30. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  31. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  32. วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
  33. สมฺปโกป : (ปุ.) ความเคืองเสมอ, ความเคืองมาก, ความเดือดดาลมาก, ความโกรธมาก, สํ ป ปุพฺโพ, กุปฺ โกเป, โณ.
  34. สมฺมุขวินย : (ปุ.) สัมมุขาวินัย ชื่อวิธีระงับอธิกรณ์อย่างที่ ๑ ใน ๗ อย่าง.
  35. สรีรึ : (ปุ.) สัตว์ วิ. สรีรสํขาโต กาโย อสฺส อตฺถิ โส สรีรี. อี ปัจ.
  36. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  37. สิกฺข : (ปุ.) ประชุมแห่งสิกาขา. สิกฺขา+ณ ปัจ. สมุหตัท.
  38. อคาธ : (วิ.) หยั่งไม่ได้, หยั่งไม่ถึง, ลึก, ลึกมาก. นปุพ.โพ, คาธ. ปติฏฐากํขาสุ, อ. ส.อคาธ.
  39. อจฺจนฺตโกธนอจฺจนฺตโกปน : (วิ.) ขึ้งเคียดยิ่งขึ้งเคียดนัก, กำเริบยิ่ง.วิ. อติเรกํ กุชฺฌติกุปฺปติ วาติ อจฺจนฺตโกธโน อจฺจนฺตโกปโน วา. กุธฺ กุปฺ โกปเน, ยุ.
  40. อจฺจนฺตโกธน อจฺจนฺตโกปน : (วิ.) ขึ้งเคียดยิ่ง ขึ้งเคียดนัก, กำเริบยิ่ง. วิ. อติเรกํ กุชฺฌติ กุปฺปติ วาติ อจฺจนฺตโกธโน อจฺจนฺตโกป โน วา. กุธฺ กุปฺ โกปเน, ยุ.
  41. อชฺชก อชฺชุก : (ปุ.) แมงลัก, อ้อยช้าง, ผักบุ้งล้อม.อชฺ คมเน, โก, ทฺวิตฺตํ (แปลงชเป็นชฺช). อชฺช ปติสชฺชนสงฺขาเรสุ วา, อุโก.
  42. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  43. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  44. อโนก : (วิ.) ไม่ให้โอกาส, ไม่เปิดโอกาส.วิ.อภิสงฺขารสหคตวิญฺญาณสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.อถวา, กายทุจฺจริตสฺสวจีทุจฺจริตสฺสมโนทุจฺจริตสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.
  45. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  46. อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
  47. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  48. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  49. อสตฺถิ : ค. ไม่มีกกขา, ไม่มีต้นขา
  50. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-409

(0.0700 sec)