Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 101-150
  1. กตฺถ กตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ตฺถ, ตฺร ปัจ. แปลง กึ เป็น ก.
  2. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  3. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  4. กทนฺน : (นปุ.) ข้าวน่าเกลียด. กุ+อนฺน แปลง กุ เป็น กท.
  5. กทร กทฺทร : (ปุ.) พยอมขาว, กฤษณา. วิ. อีสํ ขุทฺทกํ ทล เมตสฺสาติ กทโร. ลสฺส โร (แปลง ล เป็น ร).
  6. กทลิมิค : (ปุ.) กวาง, ชะมด. กทิ อวฺหาเณ, อโล, อิ. สำเร็จรูป เป็น กทลิ ฎีกาอภิฯ ลง อี เป็น กทลี. กทลิ จ โส มิโค เจติ กทลิ มิโค.
  7. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  8. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  9. กนฺตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (นามนาม มิใช่ วิเสสนะ), นาง, ภรรยา?, กานดา (หญิงที่ รัก). กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ อาอิต.
  10. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  11. กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
  12. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  13. กปฏ : (ปุ.) ความคด, ความโกง, ความทรยศ, กบฏ ขบถ คือ การประทุษร้ายต่อราชอา- ณาจักร. วิ. กุจฺฉิเตน อากาเรน ปฏตีติ กปโฏ. ปฏฺ คติยํ, อ. แปลง กุ เป็น ก หรือแปลง กุ เป็น กา แล้วรัสสะตามนัย อภิฯ ส. กปฏ.
  14. กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
  15. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  16. กปิกจฺฉุ กปิตจฺฉุ : (ปุ.) อเนกคูณคัน, อเนกคุณคัน, อเนกคุณ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทย. วิ กปินํ กจฺฉุ ชเนตีติ กปิกจฺฉุ. ณุ ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ก เป็น ต.
  17. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  18. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  19. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  20. กพฺย : (นปุ.) ความมีในกวี, ความเป็นกวี. วิ. กวิมฺหิ ภวํ กพฺยํ. กวิ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ ลบ ณฺ เป็น วฺย แปลง วฺ เป็น พฺ รูปฯ ๓๖๓, เรื่องของกวี วิ. กวิโน อิทํ กพฺยํ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  21. กพล กพฬ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น นปุ. ก็มี.
  22. กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
  23. กมฺภ กุมฺภก : (ปุ.) เสากระโดง. กมุ อิจฺฉายํ, โภ, อสฺสุ, สกตฺเถโก. อภิฯ เป็น นปุ.
  24. กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
  25. กมฺมาส : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ดำมอ ๆ.. วิ. กโล เอว มาโส กมฺมาโส. แปลง ล เป็น ม หรือ กลํ มสตีติ กมฺมาโส. กลปุพฺโพ, มสิ ปริมาเณ, โณ.
  26. กโมลิ กโมฬิ : (ปุ. อิต.) โมลีแห่งหมู่พรหม, โมฬีแห่งหมู่พรหม. วิ. เกสํ พฺรหฺมานํ โมลิ โมฬิ วา กโมลิ กโมฬิ วา. เป็น กโมลี บ้าง.
  27. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  28. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  29. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  30. กเรณุกา : (อิต.) ช้างพัง. เป็น กริณุกา บ้าง.
  31. กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
  32. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  33. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  34. กลมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง) วิ. เก อุทเก ลมฺพตีติ กลมฺพโก (เลื้อยอยู่ในน้ำ). กปุพฺโพ, ลมฺพฺ อวสํสเน, ณฺวุ. เป็น กลมฺ- พุก บ้าง.
  35. กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
  36. กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
  37. กลิล : (วิ.) รก, ชัฏ, ทึบ, ต้น, ไม่ทะลุ. วิ. กลึ ลาตีติ กลิโล. กลิปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ. กลฺ คติสํขยาเณสุ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กลิล.
  38. กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
  39. กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
  40. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็นเป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  41. กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
  42. กสาย : (วิ.) เป็น...เหลว, เป็นน้ำ.
  43. กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
  44. กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
  45. กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
  46. กาช : (ปุ.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบของ, หาบ ติณกาช หาบแห่งหญ้า. กจฺ พนฺธเน, โณ, จสฺส โช. เวสฯ ๓๕๓ เป็น กชฺช พฺยตเน, อ. ลบ ชฺ สังโยค.
  47. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  48. กาตฺร : (วิ.) ไม่หาญ, ฯลฯ. กุ ศัพท์ ตฺรณฺ ปัจ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๖๕๖.
  49. กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่ากอแห่งกัจจะ, คนเป็นเชื้อวงศ์แห่งกัจจะ. แปลง กจฺจายน เป็น กาติยาน.
  50. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0585 sec)