Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 1051-1100
  1. สินฺทิ : (อิต.) อินทผลัม, เป้ง ก็ว่า. สิทฺ โมจเน เ สฺนหเน จ, อิ, นิคฺคหิตาคโม. สนฺทฺ ปสวเน, อสฺสิ. เป็น สนฺที บ้าง?.
  2. สินฺธุ : (ปุ.) ห้วงน้ำ, ทะเล, ประเทศสินธุ. สนฺทฺ ปสเว, อุ, แปลง อ เป็น อิ และแปลง ทฺ เป็น ธฺ. ส. สินธุ.
  3. สิปฺปุสาลา : (อิต.) ศาลาทำการของนักศิลป์ วิ. สปฺปีนํ กมฺมสาลา สปฺปิสาลา. เป็น สปฺปสาลา ก็มี.
  4. สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
  5. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  6. สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
  7. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  8. สีปท : (นปุ.) เท้าทู่, โรคเท้าทู่, โรคเท้าช้าง. วิ. ฆนภาวโต สิถิลํ ปทํ สีปทํ. วณฺณนาโส (ลบ ถิล), ทีโฆ จ (และทีฆะ อิ เป็น อี).
  9. สีวถิกา สีวฎฺฐกา : (อิต.) ป่าช้าผีดิบ วิ. ฉวา ธียนฺเต อตฺราติ สีวถิกา. ฉวปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ณฺวุ, ฉสฺส โส, อสฺสี, ธสฺส โถ, อสฺสิ, อิตฺถิยํ อา. ศัพท์หลัง แปลง ถิ เป็น ฐ ซ้อน ฎ.
  10. สีวล สีวิย : (วิ.) มีความงาม, ฯลฯ. สิว+ล, อิย ปัจ. ทีฆะ อิ ที่ สิ เป็น อี โมคฯ ณาทีภัณฑ์ ๕๘.
  11. สึมา : (อิต.) เขต, แดน, เขตแดน. วิ. สียเต สมคฺเคน สํเฆน กมฺมวาจาย พนฺธียเตติ สีมา. สึ พนฺธเน, โม, อิตฺถิยํ อา. รูปฯ ตั้ง สิ พนฺธเน. ทีฆะ อิ เป็น อี ส. สีมา.
  12. สุกฺข : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, แล้ง, สุสฺ โสสเน, โต. แปลง ต เป็น กฺข ลบที่สุดธาตุ รูปฯ ๖๐๑.
  13. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  14. สุกตี : (วิ.) มีบุญ, มีโชค. วิ. สุกตํ อสฺส อตฺถีติ สุกตี, อี ปัจ. อภิฯ ลง ณิ ปัจ. เป็น สุกติ.
  15. สุกรเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งสุกร. เป็น วิเสสนบุพ.กัม. มี ฉ.อุปมพหุพ. เป็นท้อง.
  16. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  17. สุเขธิต : (วิ.) เจริญด้วยความสุขวิ.สุเขนเอธตีติ สุเขธิโต. สุขปุพฺโพ, เอธฺ วทฺธเน, โต, อิอาคโม. แปลง เอ เป็น โอ เป็น สุโขธิโตบ้าง.
  18. สุคต : (ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระสุคต พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.สุคต.
  19. สุคนฺธิ : (ไตรลิงค์) ของหอม, สุนฺทร + คนฺธ แปลง อ ที่ ธ เป็น อิ อภิฯ. ส.สุคนฺธิ.
  20. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  21. สุฏฐ : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง. เป็น อติสยัตถวาจกนิบาต. ด้วยดี, ดีละ. เป็น ปสังสัตถวาจกนิบาต.
  22. สุณ : (ปุ.) สุนัข, หมา, หมาใน. วิ. สามิกสฺส วจนํ สุณาตีติ สุโณ. สุ สวเน, ยุ.แปลง น เป็น ณ, อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ แปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณ.
  23. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  24. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  25. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  26. สุทุทฺทส : (นปุ.) สุทุททสะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปสฺสิตํ ุ สุทุกฺกรตาย สุททุทฺทสํ. สุ ทุ ปุพฺโพ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. แปลง อิ ที่ ทิ เป็น อ ซ้อน ทุ.
  27. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  28. สุนข : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุนข ยังมีนัยอื่นอีก ดู สุณข เทียบ. ศ. ศุนก.
  29. สุนฺทรตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็น...อันงาม.
  30. สุปฎฺฎ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ข้าม. สุฎฺฐุปุพฺโพ, ปฎฺ คติยํ, อ. แปลง ฎ เป็น ฎฎ.
  31. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  32. สุภกิณฺห : (ปุ.) สุภกิณหะ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุภกิณหพรหม เป็นชั้นที่ ๙ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๙ (ผู้มีรัศมีสวยงามตลอดทั่วไปทั้งร่างกาย). ลง ก สกัด เป็น สุภกิณฺหก บ้าง.
  33. สุริย : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์, สุริยน, สุริยัน. วิ. โลกานํ สุรภาวํ ชเนตีติ สุริโย. สรตีติ วา สุริโย. สรฺ คติยํ, โย. สรสฺส สุริ. อนฺธการวิธมเนน สตฺตานํ ภยํ สุนาตีติ วา สุริโย. สุ หึสายํ, อิโย, รฺ อาคโม. กัจฯ ๖๗๓ รูปฯ ๖๖๗ ลง อิส ปัจ. แปลง ส เป็น ย.
  34. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  35. สุวิชาน : (วิ.) ผู้รู้ดี. สุ วิ ปุพฺโพ, ญา ญาเน, ยุ. แปลง ญา เป็น ชา.
  36. สุวิญฺเญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้ได้โดยง่าย, อัน...พึงรู้แจ้งได้โดยง่าย. ณยฺ ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  37. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  38. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สยนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สยนสฺส สาโน. หรือลบ ย แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  39. สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
  40. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  41. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  42. เสขิย : (วิ.) อัน...พึงศึกษา, อัน...ควรศึกษา, อัน...ควรใส่ใจ, อัน...พึงใส่ใจ. สิกฺขฺ วิชฺโช ปาทาเน, โณฺย. วิการ อิ เป็น เอ ลบ กฺ และ ณฺ อิ อาคม.
  43. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  44. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  45. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  46. เสยฺย : (วิ.) ดี, ดีกว่า, ประเสริ,, ประเสริฐกว่า. ปสตฺถิ+อิย ปัจ. เสฎฐตัท, แปลง ปสตฺถ เป็น ส.
  47. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  48. เสยฺยา : (อิต.) การนอน, ที่นอน, ไสยา. สึ สเย, โย. แปลง อี เป็น เอ ย เป็น ยฺย รูปฯ ๖๔๕.
  49. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  50. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0962 sec)