Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 1251-1300
  1. อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  2. อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ. แปลง อิ เป็น ย รวมเป็น จฺย แปลง จฺย เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
  3. อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
  4. อุชฺฌายน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. แปลง เอ ที่ เฌ เป็น อาย.
  5. อุฑุ : (นปุ.) น้ำ. อุทิ ปสวนกฺลทเนสุ, อุ. แปลง ท เป็น ฑ. ส. อุฑุ.
  6. อุณฺณต : (นปุ.) เครื่องประดับหน้าผาก. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, โต. ลบที่สุดธาตุ แปลง น เป็น ณ ซ้อน ณฺ เป็น อุนฺนต บ้าง. ฏีกาอภิฯ แก้เป็น สุวณฺณาทิรจิตํ นลาฏา ภรณํ.
  7. อุณฺหคู อุณฺหสิ : (ปุ.) พระอาทิตย์ วิ. อุณฺหา คาโว รสฺมิโย เอตสฺสาติ อุณฺหคู, แปลง โอ แห่ง โค เป็น อู. อุณฺหา รํสิโย เอตสฺสาติ อุณฺหสิ. ลบ รํ.
  8. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  9. อุตฺตมณฺณ : (ปุ.) เจ้าหนี้. วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมณฺโณ. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตญฺจ. แปลง อิ เป็น อ แล้วแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  10. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  11. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  12. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  13. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  14. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  15. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  16. อุทฺธสุธ : (นปุ.) ดินปนเถ้ากับขี้วัว. เป็น อุทฺธาสุธ บ้าง.
  17. อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
  18. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  19. อุทริย : (วิ.) มีในท้อง วิ. อุทเร ภวํ อุทริยํ. อิย ปัจ. เป็น อุทรีย โดยลง อีย ปัจ. บ้าง.
  20. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  21. อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
  22. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  23. อุเทฺรก : (ปุ.) การราก, การเรอ, การอ้วก. วิ. อุทฺธํ เทกติ คนฺตุ มุสฺสหตีติ อุเทฺรโก. อุทธํปุพฺโพ, เทกิ สทฺเท, โณ, ทการสฺส โร. เป็น อุทฺเทก บ้าง.
  24. อุปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ. วิ. อุปริ กรียเตติ อุปกฺขโร. อ ปัจ. แปลง กร เป็น ขร ซ้อน กฺ.
  25. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็นเป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  26. อุปจฺจย : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด. อุป อติ ปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  27. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  28. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  29. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  30. อุปณาหี : (วิ.) ผู้ผูกโกรธ, ผู้ผูกใจเจ็บแค้น. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, ณี. แปลง น เป็น ณ.
  31. อุปณิธิ : (ปุ.) การฝากไว้, การฝังไว้, การจำนำ, การจำนำไว้. อุป นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. แปลง นิ เป็น ณิ.
  32. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  33. อุปนนฺธ อุปนนฺธิ อุปนทฺธ : (วิ.) ผูกใจเจ็บ. อุปปุพฺโพ, นนฺธ วินนฺธเน, อ, อิ. ศัพท์ที่ ๓ แปลง นฺ เป็น ทฺ.
  34. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  35. อุปย : (ปุ.) การเข้าถึง. อุปปุพฺโพ, อิ คมเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  36. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  37. อุปสมฺปทกมฺม : (นปุ.) การทำการอุปสมบท, อุปสมบทกรรม คือการบวชเป็นภิกษุ. อุปสมฺปทา+กมฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  38. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  39. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  40. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  41. อุพฺพฏฺฏน อุพฺพตฺตน : (นปุ.) การขัดสี. อุปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ศัพท์ต้น แปลง ตฺต เป็น ฏฺฏ.
  42. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  43. อุมฺมา : (อิต.) ฝ้าย, ผักตบ, ดอกไม้สีเขียว, ดอกไม้สีเขียวฟ้า. ไตร ๑๐ / ๑๒๙. อวฺ รกฺขเณ, โม, อวสฺสุ (แปลง อว เป็น อุ), ทวิตฺตํ (แปลง ม เป็น มฺม). เป็น อุมา โดยไม่แปลงบ้าง.
  44. อุมฺมาร : (ปุ.) ธรณี, ธรณีประตู. อุรฺ คติมฺหิ, มาโร. แปลง รฺ เป็น มฺ.
  45. อุมาต อุมฺมาต : (ปุ.) คนบ้า. อุปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. แปลง ท เป็น ต.
  46. อุรพฺภ : (ปุ.) แกะ, แพะ, เนื้อทราย. วิ. พาธิย- มาโนปิ น รวตีติ อุรพฺโภ. อุปุพฺโพ, รุ สทฺเท, โภ. พฤทธิ อุ ที่ รุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  47. อุรมฺภ : (ปุ.) แกะ, แพะ. อุ ในอรรถแห่ง น, รุ ธาตุ ภ ปัจ. แปลง อุ ที่ รุ เป็น อ ลง นิคคหิตอาคม.
  48. อุรุณ : (ปุ.) แกะ, แพะ, อุรณ ศัพท์ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ.
  49. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  50. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1038 sec)