Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 1301-1350
  1. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  2. อุสีร : (นปุ.) แฝก, หญ้าแฝก, รากแฝก, หญ้า คมบาง, หญ้าไทร. วสฺ กนฺติยํ, อีโร, วสฺสุ (แปลง ว เป็น อุ.), อุสฺ ทาเห วา, อีโร. อุสุ
  3. อุฬุ : (อิต.) ดาว วิ. อุลยตีติ อุลู. อุลูเอว อุฬุ. อุลฺ คมเน, อู. รัสสะ อู เป็น อุ. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น นปุ. บ้าง.
  4. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็นเป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  5. อุฬุป อุฬุปฺป อุฬุมฺป : (ปุ.) พวง (กลุ่มของที่ ห้อยย้อยไปทางเดียวกัน), แพ (กลุ่มของที่ เอามาผูกติดกันเป็นพาหนะทางน้ำ), ป่าไม้ (ดื่มน้ำไว้ ซับน้ำไว้ รักษาน้ำไว้). อุปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ ศัพท์ ที่ ๓ ลงนิคคหิตอาคม แล้วแปลง เป็น มฺ.
  6. อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
  7. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  8. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  9. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  10. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  11. เอกมนฺต : (ปุ. นปุ.) ส่วนเดียว, ส่วนข้างเดียว, ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง, ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ที่ สมควร. มงคลทีปนี เป็น นปุ.
  12. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  13. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  14. เอตทคฺค : (วิ.) ผู้ยอดในทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมใน ทางหนึ่ง, ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, ผู้เลิศ ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, เอตทัคคะ. เอก+อคฺค แปลง ก เป็น ต ทฺ อาคม.
  15. เอตรหิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้, ไม่นาน, เมื่อกี้. วิ. เอตสฺมึ กาเล เอตรหิ. อิม ศัพท์ รหิ ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต กัจฯ ๒๓๖ รูปฯ ๒๘๐.
  16. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  17. เอตาวนฺต เอตฺตาวนฺต : (วิ.) มีปริมาณเท่านี้, มีประมาณเท่านี้. อิม+วนฺต ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต ทีฆะ ที่สุดศัพท์ ซ้อน ตฺ. มีปริมาณเท่านั้น, มีประมาณเท่านั้น. เอต+วนฺต ปัจ. เป็น เอตฺตาวนฺตุ โดยลง วนฺตุ ปัจ. บ้าง. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๓ ลง อาวนฺตุ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ.
  18. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  19. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  20. เอรณฺฑ เอรณฺฑก : (ปุ.) ระหุ่ง, เทพทาโร ชื่อไม้ชนิดหนึ่งเปลือกหอมใช้ปรุงอาหาร และทำยา. วิ. โรคํ เอรณฺฑตีติ เอรณฺโฑ. เอรฑิ หึสายํ, โก. รูปฯ ๖๕๗ ศัพท์หลัง ไม่ลบ ก อภิฯ ลง ณ ปัจ. โรคํ นั้นฎีกา อภิฯ เป็น วาตํ. ส. เอรณฺฑ.
  21. โอก : (นปุ.) น้ำ, อุทก ศัพท์ ลบ ก พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  22. โอกา : (อิต.) เหา, เล็น. อูกา แปลง อู เป็น โอ.
  23. โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.
  24. โอฏฺฐ : (ปุ.) ปาก, ริมฝีปาก, ขอบ. อุสฺ ทาเห, โต, ตสฺส ฏฺโฐ, สฺโลโป, โอตฺตํ (แปลง, อุ เป็น โอ). ส. โอษฺฐฺ.
  25. โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
  26. โอฒ : (นปุ.) ทรัพย์. อุทฺธํปุพฺโพ, ฒิ มุยฺหเน, อ. ลบ ทฺธํ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  27. โอตฺตร : (นปุ.) การไข, การขยาย, การอธิบาย. อุปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, โณ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ ซ้อน ตฺ.
  28. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  29. โอทน : (ปุ. นปุ.) ข้าว, ข้าวสุก, ข้าวสวย, กระยาหาร. วิ. อุทฺทียตีติ โอทโน. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, ยุ, อุทิสฺส โอโท (แปลง อุทิ เป็น โอท.
  30. โอทหน : (นปุ.) การตั้งลง, การหยั่งลง. โอปุพฺโพ. ทหฺธารเณ, ยุ. อถวา, ธาธารเณ. แปลง ธา เป็น ทห.
  31. โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  32. โอปาร : (นปุ.) ฝั่งนี้. อิม+ปาร แปลง อิม เป็น อุ แปลง อุ เป็น โอ. ฝั่งโน้น. อมุ+ปาร ลบ มุ แปลง อ เป็น โอ.
  33. โอมก : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย, เลว, ทราม, เลว ทราม, ลามก, เล็ก. อมฺ นินฺทายํ, โณ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง อ ปัจ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  34. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  35. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  36. โอส : (ปุ.) แผ่นดิน. อูสฺ ราชายํ. โณ. สีหฬ เป็น อูส. ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, ความร้อน, ไฟ. อุสฺ ทาเห, โณ.
  37. โอสว : (ไตรลิงค์) ตำบลมีดินเค็ม, ที่มีเกลือ. สีหฬ เป็น อูสว.
  38. โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
  39. โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
  40. โอฬิคลฺล : (ปุ.) ดู โอลิคลฺล วิ. อวลคฺคนฺติ ยสฺมึ โส โอฬิคลฺโล, อวปุพฺโพ, ลคฺค สงฺเค, อโล, ฬตฺตํ, อสฺสิ, คฺโลโป, ทฺวิตฺตํ(แปลง ล เป็น ลล).
  41. อโกลองฺโกล : (ปุ.) ต้นปรู. อํกฺ ลกฺขเณ, โอโล.เป็น องฺโกรโดยลงโอรปัจ.ก็มี.
  42. กกฺกร : ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ; กระจก, คันฉ่อง
  43. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  44. กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
  45. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  46. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  47. กจฺจาน กจฺจายน กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ, คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์.
  48. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  49. กญฺจนก : ค. เป็นสีทอง, ทอง
  50. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | [1301-1350] | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0979 sec)