Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 151-200
  1. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  2. กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
  3. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  4. กามน : (วิ.) ผู้ใคร่, ผู้ใคร่จัด. กมุ อิจฺฉายํ, ยุ. เป็น กมน กามิน บ้าง. ส. กามน กามินฺ
  5. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  6. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  7. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  8. การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
  9. การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
  10. กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
  11. กาลวณ : (นปุ.) เกลือ, เกลือน้อย. วิ. กุ อปฺปกํ ลวณํ กาลวณํ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๓๓๖ รูปฯ ๓๓๒ โมคฯ สมาส กัณฑ์ ๑๐๘.
  12. กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
  13. กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
  14. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  15. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  16. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  17. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  18. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  19. กิมุต : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง. เป็น อติสยัตถะ. หรือ, หรือว่า, หรือไม่. เป็น วิกัปปวิตักกะ และ ปุจฉนะ.
  20. กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
  21. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  22. กิริณี : (อิต.) ช้างพัง, ช้างตัวเมีย, นางช้าง. กรี+อินี แปลง อ เป็น อิ.
  23. กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
  24. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  25. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  26. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  27. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  28. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  29. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  30. กึกิณิ กึกิณี : (อิต.) พรวน, ลูกพรวน, ดุม, ลูกดุม. วิ. กึ กุจฺฉิตํ กณตีติ กึกิณิ กึกิณี วา. กณฺ สทฺเท, อิ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ, นิคฺคหิ- ตาคโม. เป็น กึกณิ บ้าง. ส. กึกณิ.
  31. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  32. กุกุม กุงฺกุม : (นปุ.) บัวบก, ดอกบัวบก, หญ้าฝรั่น, จันทน์แดง. วิ. กามียตีติ กุกุมํ กุงฺกุมํ วา. กมฺ อิจฺฉากนฺตีสุ, อุโม. แปลง กมฺ เป็น กํก. อถวา, กุกฺ อาทาเน, อุโม, นิคฺคหิตาคโม. ส. กุงฺกุม.
  33. กุจ : (ปุ.) นม (นมของหญิง) วิ. คจฺฉนฺเต กาเล กุจตีติ กุโจ. กุจฺ สงฺโกจเน, อ. เป็น นปุ. ก็มี. ส. กุจ.
  34. กุจฺฉ : (นปุ.) บัวขาว. กุสฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ.
  35. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  36. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  37. กุญฺช : (ปุ.) ดาง. อภิฯ เป็น ปุ. รูปฯ ๓๘๕ เป็น อิต.
  38. กุญฺชา : (อิต.) ดาง. อภิฯ เป็น ปุ. รูปฯ ๓๘๕ เป็น อิต.
  39. กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
  40. กุฏิ : (อิต.) เรือน, เรือนพระ, ที่อยู่ของพระ, กระท่อม, กระฏิ, กุฏิ, กุฏี. วิ. กุฏตีติ กุฏิ. กุฏฺ เฉทเน, อิ. เป็น กุฏี บ้าง. ส. กุฏิ.
  41. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  42. กุฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ (นา สวน เป็นต้น) กุฏมฺ วตฺตเน, โพ, อสฺส (แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ).
  43. กุฐารี กุฏฺฐ ารี : (อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับ ถากไม้ชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายขวาน วิ. กุจฺฉิตา ธารา ยสฺสาติ กุฐารี กุฏฺฐารี. แปลง ธ เป็น ฐ. ฏฺฐ. เป็น กุธารี โดยไม่แปลงบ้าง ขวาน ก็แปล.
  44. กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
  45. กุณป กุนป : (ปุ. นปุ.) ศพ, ซากศพ. กุณฺ สงฺโกจเน, โป, ออาคโม. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. ส. กุณป.
  46. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  47. กุตฺติ : (อิต.) การทำ. กรฺ+ติ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ รูปฯ ๖๔๕.
  48. กุตฺติม : (วิ.) เกิดด้วยการทำ วิ. กรเณน นิพฺพตฺตํ กุตฺติมํ. กรณ+ตฺติม ปัจ. แปลง กรณ เป็น กุ รูปฯ ๖๔๕.
  49. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  50. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0517 sec)