Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 201-250
  1. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  2. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น
  3. กุมฺภถูณ กมฺภถูน : (ปุ. นปุ.) เถิดเทิง (กลองยาว) กุมฺโภ จ โส ถูโณ จาติ กุมฺภถูโณ. อถวา, กุมฺภสณฺฐานตฺตา กุมฺโภ จ ถูณนคเร สมฺภูตตฺตา ถูณญฺจาติ กุมฺภูณํ. ฎีกาอภิฯ เป็น กุมฺภถุณ ตั้ง ถุ อภิตฺถเว, โณ. ไม่ลบ ณ ปัจ. หรือ ถุณฺ ปูรเณ, อ.
  4. กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
  5. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  6. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  7. กุลตฺถ : (ปุ.) พืชที่ตั้งอยู่ในการพัน, พืชที่เลื้อย- พัน, ถั่วพู. กุล+ถ ซ้อน ตฺ ถ มาจาก ฐา ธาตุ แปลง ฐ เป็น ถ.
  8. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  9. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  10. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  11. กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
  12. เกกร : (ปุ.) คนตาเหล่, คนตาหลิ่ว, คนตาส่อน. วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ เกกโร. กุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, อุสฺเส (แปลง อุ แห่ง กุ เป็น เอ). สฺ เกกร.
  13. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  14. เกฏุ : (ปุ.) ธง. เกตุ ศัพท์แปลง ตุ เป็น ฏ.
  15. เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทาฬนํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาฬน ลบ น แปลง ฬ เป็นเป็น อลุตตสมาส.
  16. เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  17. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  18. โกญฺจวาทิก : (ปุ.) นกกระเรียน, ไตร. ๒๘/ ๑๑๕๕. เป็น กุญฺชวาทิต กุญฺชวาทิก บ้าง.
  19. โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  20. โกฏิสิมฺพลี : (ปุ.) ไม้งิ้วป่า. เป็น กสิมฺพล บ้าง.
  21. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  22. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  23. โกทุมฺพร : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้. กุช+ตจ+ชาต+ อมฺพร. ลบ ตจ ชาต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ช เป็น ท อ เป็น อุ.
  24. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  25. โกมุติ : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. แปลง ที เป็น ตี.
  26. โกลฏฺฐิปกฺขิ : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. โกลฏฺฐิ อชฺฌาหารโก ปกฺขิ โกลฏฺฐิปกฺขิ. เป็น โกลฏฺฐิปกฺขี บ้าง.
  27. โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
  28. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  29. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  30. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  31. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  32. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  33. ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
  34. ขตฺต : (ปุ.) กษัตริย์(ผู้ป้องกันประเทศ,นักรบ). ขฏฺฏฺ สํวรเณ, อ. แปลง ฏฺฏฺ เป็น ตฺต.
  35. ขตฺติมหาสาล : (ปุ.) กษัตริย์ผู้มหาศาล วิ. มหนฺโต ธนสาโร เยสํ เต มหาสาลา. แปลง ร เป็น ล. ขตฺติโย จ โส มหาสาโล จาติ ขตฺติยมหาสาโล.
  36. ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
  37. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  38. ขนฺตุ : (วิ.) ผู้ทน, ฯลฯ. ตุ ปัจ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือแปลง มฺ เป็น นฺ.
  39. ขนฺธก : (ปุ.) ต้น, ลำต้น. ขาทฺ ภกฺขเณ, โก. แปลง ขาทฺ เป็น ขนฺธ ไม่ลบ ก ปัจ. รูปฯ ๖๕๘.
  40. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  41. ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  42. ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
  43. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  44. ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
  45. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  46. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  47. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  48. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  49. เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
  50. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0942 sec)