Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 2451-2500
  1. ปคุณตา : อิต. ความเป็นผู้คล่องแคล่ว
  2. ปจฺจนีก : ค. เป็นข้าศึกกัน, ตรงกันข้าม, ปัจนึก
  3. ปญฺจกฺขตฺตุ : อ. ห้าครั้ง
  4. ปฏฺฐปิต : กิต. (อันเขา) เริ่มตั้งไว้แล้ว, วางเป็นหลักแล้ว
  5. ปฏฺฐเปติ : ก. เริ่มตั้ง, แต่งตั้ง, วางเป็นหลัก, เริ่มต้น
  6. ปฏิกฺกมนสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่หลบหลีก, ศาลาเป็นที่พักผ่อน
  7. ปฏิกณฺฏก : ค. คู่ปรับ, เป็นศัตรูกัน, คู่ต่อสู้, เสี้ยนหนาม
  8. ปฏิกุลฺยตา : อิต. ความเป็นสิ่งปฏิกูล, ความเป็นของน่ารังเกียจ
  9. ปฏิกูล : ค., นป. ปฏิกูล, น่าเกลียด, น่ารังเกียจ, ซึ่งขัดแย้ง; ความเป็นของน่ารังเกียจ, ความเป็นของไม่สะอาด
  10. ปฏิกูลคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยอาการอันขัดแย้ง
  11. ปฏิกูลตา : อิต. ความเป็นของปฏิกูล
  12. ปฏิกูลสญฺญา : อิต. ปฏิกูลสัญญา, ความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล, ความกำหนดหมายว่าเป็นของน่ารังเกียจ
  13. ปฏิกูลสญฺญี : ค. ผู้กำหนดหมายว่าเป็นของปฏิกูล
  14. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  15. ปฏิปกฺข : ป., ค. ปฏิปักษ์, ฝ่ายตรงข้าม, ศัตรู; ซึ่งเป็นปฏิปักษ์
  16. ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
  17. ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
  18. ปฏิปาฏิก : ค. ซึ่งเป็นไปตามลำดับ
  19. ปฏิปุคฺคลิก : ค. มีคนทัดเทียม, มีคนเปรียบเทียบ, อันเป็นของแห่งคู่แข่ง
  20. ปฏิมลฺล : ป. นักมวยปล้ำซึ่งเป็นคู่ต่อสู้
  21. ปฏิราช : ป. พระราชาฝ่ายตรงข้าม, ราชาผู้เป็นศัตรู
  22. ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม; ๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
  23. ปฏิวฏฺฏติ : ก. เป็นไปตาม, หมุนกลับ; กลิ้งกลับ, วกออก
  24. ปฏิวตฺติต : กิต. (อันเขา) ให้เป็นไปแล้ว, ให้หมุนกลับแล้ว, ให้กลิ้งกลับแล้ว
  25. ปฏิวตฺติย : ค. ซึ่งพึงให้เป็นไป, ซึ่งให้หมุนกลับ, อันให้กลิ้งกลับ
  26. ปฏิวิรุทฺธ : กิต. ผู้ขัดแย้ง; ผู้โกรธ, ผู้เป็นปฏิปักษ์; ซึ่งถูกขัดขวาง
  27. ปฏิวิสฺสก : ป., ค. คนคุ้นเคย, เพื่อนบ้าน; ผู้เป็นเพื่อนบ้าน
  28. ปฏิวิสิฏฺฐ : ค. เฉพาะอย่าง, ซึ่งเป็นพิเศษ
  29. ปฏิสงฺขานพล : นป. กำลังแห่งการพิจารณา, ธรรมที่เป็นกำลังคือการพิจารณา, อำนาจการพิจารณา
  30. ปฏิสเตน : อ. โดยจำนวนร้อย, คราวละร้อย, (ได้ค่าตัวคืน) ละร้อย (กษาปณ์)
  31. ปฏิสลฺลานสารุปฺป : ค. สมควรแก่การหลีกเร้น, ซึ่งเป็นที่เหมาะที่จะหลีกเร้น
  32. ปฏิสลฺลานาราม : ค. ผู้มีการหลีกเร้นเป็นที่มายินดี, ผู้มีความพอใจในการหลีกเร้น
  33. ปฏิเสนิกตฺตุ : ป. ผู้กระทำความเป็นข้าศึก, ผู้ตั้งต้นเป็นศัตรู, ผู้สร้างศัตรู
  34. ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
  35. ปฏิเสนิยติ : ก. ประพฤติเป็นศัตรู, แก้แค้น, โต้เถียง, ประคารม, ไสส่ง
  36. ปฐม : ค. ที่หนึ่ง, ครั้งแรก, อันแรก
  37. ปฐม : อ. ก่อน, ครั้งแรก
  38. ปฐวตฺต : นป. ความเป็นดิน, ความเป็นของแข็ง
  39. ปฐวีกสิณ : นป. ปฐวีกสิณ, ดินสำหรับเพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ
  40. ปฐวีสญฺญา : อิต. ความกำหนดหมายว่าเป็นดิน
  41. ปณฺฑร : ค., ป. ขาว, ขาวเหลือง, ซีด; ช้างสกุลหนึ่งเป็นช้างเผือก
  42. ปณฺฑิจฺจ : นป. ความเป็นบัณฑิต, ความเฉลียวฉลาด, ความเฉียบแหลม
  43. ปณฺฑิตก : ป. คนที่เข้าใจว่าตนเป็นบัณฑิต, คนเห่อความรู้, คนอวดฉลาด
  44. ปณฺฑุโรคี : ป. คนเป็นโรคผอมเหลืองหรือโรคดีซ่าน
  45. ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
  46. ปตฺตปิณฺฑิก : ป. ภิกษุผู้ถือฉันอาหารเฉพาะในบาตรเป็นวัตร
  47. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  48. ปตฺตยาน : (นปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยปีก, นก. วิ. ปตฺเตน ยาตีติ ปตฺตยาโน. ยา คติยํ, ยุ.ปตฺตํ ยานํ เอตสฺสาติ ปตฺตยาโน (มีปีกเป็นยาน). ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  49. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  50. ปถน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ปถฺ คติยํ, ยุ. ความแผ่ไป, ความพิสดาร, ความกว้างขวาง. ปถฺ วิตฺถาเร, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | [2451-2500] | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1037 sec)