Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 2651-2700
  1. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  2. ปิฬหก : ป. หนอน, สัตว์ชั้นต่ำชนิดมีคูถเป็นอาหาร
  3. ปีติภกฺข : ค. มีปีติเป็นภักษา
  4. ปีติสมฺโพชฺฌงฺค : ป. องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ คือปีติ
  5. ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
  6. ปุคฺคลิก : ค. ซึ่งเป็นของเฉพาะบุคคล, ซึ่งเป็นของส่วนตัว
  7. ปุญฺชกต : ค. อัน... ทำให้เป็นพวก, ทำให้เป็นกอง
  8. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  9. ปุญฺญสฺสย : ป. ธรรมเครื่องอาศัยคือบุญ, ธรรมเป็นเครื่องพึ่งพิงคือบุญ
  10. ปุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  11. ปุตฺตตฺต : นป. ความเป็นบุตร
  12. ปุตฺติยติ : ก. ประพฤติเป็นเพียงดังว่าบุตร
  13. ปุถุชฺชนตา : อิต. ความเป็นปุถุชน
  14. ปุถุชฺชนิก : ค. ผู้เป็นปุถุชน, ผู้เป็นคนธรรมดา
  15. ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
  16. ปุปฺผปฏ : ป., นป. แผ่นผ้าที่ทำเป็นรูปดอกไม้, ผ้าลายดอกไม้
  17. ปุพฺพก : (วิ.) เป็นของเก่า, ฯลฯ.
  18. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  19. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  20. ปุพฺพณฺหสมย : (ปุ.) สมัยเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, ฯลฯ.
  21. ปุพฺพปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องถึงก่อน, คำอันเป็นส่วนเป็นเครื่องถึงก่อนบทนามนาม เช่น ซึ่งบุรุษเป็นต้น, บุพบท, บุรพบท (คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ).
  22. ปุพฺพภาค : (ปุ.) กาลอันเป็นส่วนเบื้องต้น, ส่วนมีในเบื้องต้น, ส่วนเบื้องต้น, ส่วนแรก, บุพภาค, บุรพภาค.
  23. ปุพฺพรตฺติ : (อิต.) ราตรีมีในเบื้องต้น,ราตรีเป็นเบื้องต้น, กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี.
  24. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  25. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  26. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  27. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  28. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  29. ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
  30. ปุราตน : (อัพ. นิบาต) เป็นในกาลก่อน?
  31. ปุรินฺท : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ของเมือง, เจ้าเมือง. ปุร+ อินฺทฺ.
  32. ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
  33. ปุริสทมฺมสารถี : ค. เป็นสารถีฝึกคนที่พอฝึกได้
  34. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  35. ปุเรจร : (วิ.) ผู้ไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. วิ. ปุเร จรตีติ ปุเรจโร. ปุรปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, อ, สตฺตมิยา อโลโป.
  36. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  37. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  38. ปุสฺสรถ : (ปุ.) รถพระที่นั่ง มิใช่รถสำหรับออกรบ แต่เป็นรถสำหรับเที่ยวเล่นเป็นต้น, รถที่ตกแต่งในปุสสนักบัตร. ปุสฺ โปสเน, โส.
  39. ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
  40. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  41. ปูต : (วิ.) สะอาด, หมดจด, แจ่มใส, เป็นมงคล, ดี. ปุ ปวเน, โต, ทีโฆ.
  42. ปูติคนฺธี : (ไตรลิงค์) ของเหม็น. ไตร. และฎีกาอภิฯ วิเสสนะ แปลว่า เป็นของเหม็น, ฯลฯ.
  43. ปูรณ : (วิ.) เต็ม, เปี่ยม, เป็นที่เต็ม, ซ่อมแซม, บูรณะ.
  44. ปูรณี : (วิ.) เป็นทีเต็ม.
  45. เปจฺจ : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ข้างหน้า, โลกหน้า, ภายหน้า. ที่ใช้เป็นกิริยา แปลว่าละไปแล้ว.
  46. เปตฺติก : ค. เป็นของบิดา
  47. เปตฺติวิสย : (ปุ.) ที่อยู่ของหมู่เปรต, ประเทศเป็นแดนของหมู่เปรต,ภพของเปรต.
  48. เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  49. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  50. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | [2651-2700] | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1120 sec)