Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 2851-2900
  1. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  2. มกรทนฺตก : ป. รูปเป็นฟันปลา
  3. มคฺคาธิปติธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี ได้แก่ ธรรมคือจิตและเจตสิกที่ทำอริยมรรคให้เป็นอธิบดี.
  4. มคฺคามคฺคญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือภาวะมิใช่ทาง, ญาณเป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง.
  5. มคฺคารมฺมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์ ได้แก่ธรรมคือจิตและเจตสิกที่ทำอริยมรรคให้เป็นอารมณ์.
  6. มงฺกุภาว : ก. ความเป็นผู้เก้อ
  7. มงฺกุภูต : (วิ.) เป็นผู้เก้อเป็นแล้ว, ผู้เก้อเขิน.
  8. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  9. มงฺคลฺย : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นมงคล, ความเป็นมงคล.
  10. มงฺคลสุปิน : นป., ป. การหลับเป็นมงคล, ฝันดี
  11. มจฺจุเธยฺย : (นปุ.) วัฏฏะเป็นที่ทรงแห่งมัจจุ, วัฎฎะเป็นที่ตั้งแห่งมัจจุ, บ่วงแห่งมัจจุ.
  12. มจฺจุปรายน : ค., มจฺจุปเรต กิต. มีความตายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า
  13. มจฺฉิก : (ปุ.) คนฆ่าปลาเป็นอยู่, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ หนฺตฺวา ชีวตีติ มจฺฉิโก. ณิก ปัจ.
  14. มชฺชว : (วิ.) เป็นของอ่อน, อ่อน, อ่อนโยน.
  15. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  16. มชฺฌิมโพธิ : (อิต.) เวลาเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิ คือช่วงระยะเวลาตอนกลาง.
  17. มชฺฌิมโพธิกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิกาล คือกาลเป็นไประหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาลได้แก่ เรื่องพระพุทธประวัติระหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาล.
  18. มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
  19. มญฺชิฏฺฐา : (อิต.) หางช้าง ชื่อว่าน มีใบเป็นแผ่นคล้ายพัดด้ามจิ๋ว หรือปลายหางช้าง, ไม้มะหาด. มชฺชฺ สุทฺธิยํ, ฏโฐ, ชสฺส โญ, อิตฺถิยํ อา.
  20. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  21. มณฺฑล : (นปุ.) ดวง (สิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปกลมๆ), ดวงกลม, วง, วงกลม, กลมรอบ, วงรอบ, รูปดวงจันทร์. วิ. มณฺฑยเตติ มณฺฑลํ. มณฺฑฺ ภูสเน, อโล. มณฺฑํ ลาติ คจฺฉตีติ มณฺฑลํ. มณฺฑปุพฺโพ, ลา คติยํ, อ.
  22. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  23. มตฺตา มตฺรา : (อิต.) การนับ, เครื่องนับ, เครื่องวัด, เครื่องชั่ง, เครื่องตวง, ความเป็นใหญ่. มา ปริ-มาเณ. ต ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๖๕๐.
  24. มตฺติก : (วิ.) มาข้างมารดา, เกิดแต่มารดา, อันเป็นของมีอยู่แห่งมารดา. ดู เปตฺติก.
  25. มตฺติสมฺภว : (วิ.) มีมารดาเป็นแดนเกิดพร้อม, มีมารดาเป็นแดนเกิด.
  26. มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
  27. มติ : (วิ.) ผู้รู้, เป็นเหตุรู้. มนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
  28. มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
  29. มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
  30. มธุ : (วิ.) หวาน, อร่อย, อันพึงใจ, เป็นที่รัก, ไพเราะ, ดี.
  31. มนฺถ : (ปุ.) ขนมผง, สัตตุผง, ข้าวสัตตุผง. มนฺถฺ วิโลลเน, อ. ไม้สำหรับกวนนมให้เป็นเนย ก็แปล.
  32. มนฺถนี : (อิต.) ภาชนะสำหรับคนนมให้เป็นเนย.
  33. มนฺถาน : (ปุ.) มันถานะ ชื่อภาชนะวิกัติสำหรับคนนมโคให้เป็นเนย.
  34. มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
  35. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  36. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  37. มนุเชส : (ปุ.) คนผู้เป็นจอมมนุษย์, พระราชา. มนุช+อีส.
  38. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  39. มนุสฺสชาติ : (อิต.) การเกิดเป็นมนุษย์, ชาติมนุษย์.
  40. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  41. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  42. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  43. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  44. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  45. มนุสฺสภูต : ค. เป็นมนุษย์
  46. มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
  47. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  48. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  49. มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
  50. มโนภู : (ปุ.) ความเป็นในใจ, ความมีในใจ, ความโลภ, กามเทพ. วิ. สิงฺคารรูเปน ปาณีนํ มนสิ ภวตีติ มโนภู. กฺวิ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | [2851-2900] | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0833 sec)