Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 2901-2950
  1. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  2. มโนรม : (วิ.) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, เป็นที่ขอบใจ, เป็นที่ยินดีแห่งใจ, งาม ดี ดีนัก. วิ. มโน รมตฺยสฺมินฺติ มโนรมมํ. รมุ รมเณ, อ.
  3. มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
  4. มโนหร : ค. เป็นที่จับใจ, น่ารักใคร่
  5. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  6. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  7. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  8. มมฺมจฺเฉทวจน : (นปุ.) คำเป็นเครื่องตัดเสียซึ่งความรักเป็นเหตุตาย.
  9. มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  10. มยูข : (ปุ.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. มยตีติ มยูโข. มยฺ คติยํ, โข, อูอาคโม. รัสสะเป็น มยุข บ้าง.
  11. มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  12. มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  13. มรณเจตนา : (อิต.) เจตนาเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ตาย.
  14. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  15. มรณปริโยสาน : ค. มีความตายเป็นที่สุด
  16. มรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันตาย, ความเป็นคืออันจะตาย, ฯลฯ, ความตาย. ไทยมรณภาพ ใช้เป็นกิริยาว่า ตาย เฉพาะการตายของพระสงฆ์.
  17. มรณลกฺขณ มรณลิงฺค : (วิ.) มีความตายเป็นลักษณะ.
  18. มรีจิธมฺม : ค. ไม่มีเนื้อมีหนัง, ธรรมมีพยับแดดเป็นอารมณ์
  19. มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
  20. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  21. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  22. มหคฺคต : (วิ.) อันถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่, (จิต) ที่ถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่คือได้รูฌาณและอรูปฌาณ.
  23. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  24. มหตฺต : นป. ความเป็นผู้ยิ่งใหญ่
  25. มหลฺล มหลฺลก : (วิ.) ใหญ่, โต, มาก, แก่, ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. วิ. อายุมหตฺตํ ลาตีติ มหลฺโล มหลฺลโก วา.
  26. มหาการุณิก : (วิ.) ประกอบด้วยความกรุณามาก, ประกอบด้วยพระมหากรุณา เป็นคุณบทของพระพุทธเจ้า.
  27. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  28. มหากุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความเป็นใหญ่, จิตมีความดีมาก, มหากุศลจิต (มี ๘ ดวง).
  29. มหาชน : (ปุ.) คนหมู่ใหญ่, คนหมู่มาก, ชนหมู่ใหญ่, ชนหมู่มาก, คนที่เป็นพวกกัน, มหาชน, แปลว่าประชาชน ก็ได้.
  30. มหาชาติ : (อิต.) ชาติใหญ่, มหาชาติ เรียกชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ คือชาติที่เป็นพระเวสสันดร.
  31. มหาเทว : (ปุ.) เทพผู้เป็นใหญ่, เทวดาผู้เป็นใหญ่, พระมหาเทพเป็นคำเรียกพระอิศวร.
  32. มหาธาตุ : (ปุ. อิต.) ธาตุใหญ่, ทองคำ, มหาธาตุ เป็นคำเรียกสถูปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นคำเรียกวัด ซึ่งมีสถูปหรือสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เช่น วัดมหาธาตุ วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ เป็นต้น.
  33. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  34. มหานิพฺพาน : (นปุ.) พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงเจริญ, พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงบูชา, มหานฤพาน.
  35. มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
  36. มหาพฺรหฺม : (ปุ.) มหาพรหม ชื่อพรหมชั้นที่ ๓ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อภพเป็นที่เกิดที่อยู่ของพรหมชั้นที่ ๓ นั้น (มหาพรหม).
  37. มหาภิกฺขฺสฆปริวาร : (วิ.) (สตฺถา) ทรงมีหมู่แห่งภิกษุใหญ่เป็นบริวาร.
  38. มหามจฺจาลย : (ปุ.) สำนักนายกรัฐมนตรี คือที่ทำ งานของอำมาตย์ผู้ใหญ่ เป็นศูนย์รวมงานของประเทศ.
  39. มหามุนิ : (ปุ.) พระมหามุนี เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงพระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม.
  40. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  41. มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
  42. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  43. มหาสมณ : (ปุ.) สมณะผู้ใหญ่, สมณะผู้มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถมาก, พระมหาสมณะเป็นพระนามของพระมหาเถระผู้ได้รับสถาปนาเป็นพระประมุขของสงฆ์ มีพระเกียรติสูงกว่าสมเด็จพระสังฆราช. สมัยใดทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณะ สมัยนั้นจะไม่ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสังฆราช.
  44. มหาสาล : (วิ.) ผู้มั่งคั่ง, ผู้มั่งมี, ผู้มหาศาล คือ ผู้เป็นใหญ่. ผู้ยิ่งใหญ่ในหน้าที่ต่างๆ เช่น กษัตริย์มหาศาล คือ กษัตริย์ผู้มีอำนาจมาก คหบดีมหาศาล คือ คหบดีผู้มีทรัพย์มาก เป็นต้น.
  45. มหาสาวก : (ปุ.) พระสาวกผู้ใหญ่ เว้นพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เพราะสองท่านนี้ท่านเป็นพระอัครสาวก. แต่คำว่าพระมหาสาวก ๘๐ ก็รวมด้วย.
  46. มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
  47. มหิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, ความมักมาก (เห็นแก่ได้) เป็นกิเลสที่หยาบกว่าอิจฉา.
  48. มากฺกว : (ปุ.) ตองแตก ชื่อไม้เถาใบเป็นแฉกใช้ทำยา. มุจ โมจเน, อโว, อุสฺสา, จสฺส โก, ทฺวิตฺตญฺจ.
  49. มาคธ : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในแว่นแคว้นมคธ, ผู้อยู่ในแว่นแคว้นมคธ, ผู้เป็นอิสระในแว่นแคว้นมคธ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  50. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | [2901-2950] | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0715 sec)