Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 3001-3050
  1. โมฆิย : (วิ.) อาจเป็นโมฆะ, เป็นโมฆะ.
  2. โมจนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ปลด, ฯลฯ.
  3. โมเนยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งมุนี วิ. มุนิสฺส ภาโว โมเนยฺยํ. เณยฺย ปัจ. ภาวตัท.
  4. โมเนยฺยปฏิปทา : (อิต.) ข้อปฏิบัติอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ความเป็นมุนี.
  5. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  6. ยกฺขตฺต : นป. ภาวะของยักษ์, ความเป็นยักษ์
  7. ยกฺขภูต : ค. เกิดเป็นยักษ์
  8. ยกฺขาธิป : (ปุ.) ยักขาธิป ชื่อท้าวโลกบาลผู้เป็นใหญ่ในทิศเหนือ เป็นอธิบดีของยักษ์มีชื่อเรียก ๒ ชื่อ คือ ท้าวกูเวร ๑ ท้าวเวสสุวัณ ๑. วิ. ยกขานํ อธิโป ยกฺขาธิโป.
  9. ยคฺเฆ : (อัพ. นิบาต) เป็นคำอาลปนะของคนที่ต่ำพูดกับคนที่สูงกว่า แปลว่า ขอเดชะ หรือ สรวมชีพ. และแปลว่า ได้ยินว่า, แล.
  10. ยญฺญตา : อิต. พิธีบูชายัญ, การบูชายัญ, ความเป็นคืออันบูชายัญ
  11. ยถตฺต : นป. ความเป็นจริง, ความเป็นอย่างนั้น
  12. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  13. ยถาฐิต : ค. ตามที่ยืนอยู่แล้ว, ดังที่มันเป็นอยู่
  14. ยถาภุจฺจ : (นปุ.) ตามความเป็นจริง.
  15. ยถาภุจฺจ, - ภูต : ค. จริง, แท้, ปรากฏ; ตามความเป็นจริง, สมควรเป็นจริง
  16. ยถาภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างไร.
  17. ยถาภูต : ก.วิ. ตามความเป็นจริง, ในสิ่งที่เป็นจริง
  18. ยถาภูตญาน : (นปุ.) ความรู้ตามความเป็นจริง.
  19. ยถาวก : ค. ซึ่งเป็นจริง, ซึ่งเป็นประโยชน์
  20. ยถาวโต : ก.วิ . ตามความเป็นจริง
  21. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  22. ยปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  23. ยม : (ปุ.) ท้าวยม, พระยม, พระยายม, พญายม ยมราช ชื่อ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของสัตว์นรก. ปชาสํยมนดต ยโม.
  24. ยมก : (วิ.) เป็นคู่, เป็นคู่กัน.
  25. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  26. ยสมหตฺต : นป. ความเป็นผู้มียศใหญ่
  27. ยสฺมา : เพราะเหตุใด, เหตุใด, เป็นศัพท์ที่แปลคู่กับ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น.
  28. ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
  29. ยาตรา : อิต. ยาตรา, การท่องเที่ยวไป, การเดินทาง; การยังชีวิตให้เป็นไป, การดำรงชีวิต
  30. ยาตฺรา : (อิต.) การเลี้ยงชีวิต, การยังชีวิตให้เป็นไป, การไป, การเดิน, การเดินไป, การเดินทัพออกไปรบ, การยกทัพไปรบ. ยา ปาปุณเน, ตฺรณฺปจฺจโย. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  31. ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
  32. ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
  33. ยานึกต : (วิ.) กระทำให้เป็นยานแล้ว.
  34. ยาปน : (วิ.) อันยัง...ให้เป็นไป.
  35. ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
  36. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  37. ยาปนีย : (วิ.) พึงยัง...ให้เป็นไป, ฯลฯ.
  38. ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
  39. ยามกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยามกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนแล้ว ฉันได้ชั่วคราว คือวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่ น้ำอัฐบาน.
  40. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  41. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  42. ยาวชีวิก : (นปุ.) ของเป็นยาวชีวิก คือ ของจำพวกยา ภิกษุรับประเคนได้ทุกเวลา และฉันได้ตลอดไปตามอายุของยา.
  43. ยุคนฺธร : (ปุ.) ยุคนธร, ยุคันธร, ยุคุนธร ชื่อภูเขาซึ่งเป็นบริวารของเขาพระสุเมรุ.
  44. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  45. ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
  46. ยุวน : (นปุ.) ความรุ่น, ความหนุ่ม, ความสาว, ความเป็นหนุ่มสาว, เยาวน์. ยุ มิสฺสเน, ยุ.
  47. เยภุยฺยนย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไปมาก, นัยมาก, เยภุยยนัย เยภุยนัย (วิธีที่คนส่วนมากใช้).
  48. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  49. โยคกฺเขม : (วิ.) อันเป็นแดนเกษมจากโยคะ, อันเป็นแดนปลอดโปร่งจากโยคะ.
  50. โยชนมตฺต : (วิ.) มีโยชน์เป็นประมาณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | [3001-3050] | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1043 sec)