Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 3251-3300
  1. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  2. สาสนูปถมฺถก : (วิ.) ผู้บำรุงพระศาสนา, ผู้ทะนุบำรุงพระศาสนา, ศาสนูปถัมภก เป็นคุณบทของพระมหากษัตริย์.
  3. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  4. สาหสิก : (วิ.) เป็นไปพลัน, ฯลฯ. ส. สาหสิก.
  5. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  6. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  7. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  8. สิขณฺฑก : (ปุ.) ผมแหยม, แกละ, ผมแกละ ชื่อผมที่เกล้าไว้เป็นหย่อม ๆ เป็นผมเด็ก. แยกเป็น ๕ หรือ ๓ หย่อม.
  9. สิงฺฆาฎก : (นปุ.) ทางมารวมกัน, ตะแลงแกง (ทางมารวมกัน), ทางสามแยก, ทางสี่แยก, ทางสามแจง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แจง, ทางสามแพร่ง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แพร่ง, ตรอกสามแจง, ตรอกสี่แจง, ฯลฯ, ชุมทางสามแยก, ชุมทางสี่แยก, ฯลฯ. วิ. สึฆติ เอกีภาวํ ยาตีติ สิงฺฆาฎโก. สึฆฺ ฆฎเน, อาฎโก.
  10. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  11. สินฺธว : (ปุ.) ม้าตัวผู้, ม้าที่มีในสินธูชนบท. วิ. สินฺธุมฺหิ ภโว สินฺธโว. ณ ปัจ. ม้าสินธพนี้แต่ก่อนจัดเป็นม้าพิเศษ.
  12. สิเนรุ : (ปุ.) เขาสิเนรุ, เขาสุเมรุ, เขาพระสุเมรุ. วิ. สินาติ สุจึ กโรติ เทเวติ สิเนรุ. สินา โสเจยฺเย, เอรุ. มคธเป็น สิเนรุ ไทยใช้เป็นสุเมรุ.
  13. สิเนหปภว : (วิ.) มีความรักเป็นแดนเกิดก่อน.
  14. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  15. สิริมา : (อิต.) สิริมา ชื่อหญิงผู้เป็นน้องสาวของหมอชีวกโกมารภัจ.
  16. สิริยสน : (นปุ.) ที่นอนอันเป็นสิริ, ที่บรรทม.
  17. สิว : (วิ.) งาม, ดี, เกษม, สำราญ, สุขสำราญ, เป็นศรีสวัสดิ์, เจริญ, ดีงาม. ส. ศิว.
  18. สิวถิกา : (อิต.) หมาจิ้งจอก ชื่อหมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ำตาลแกมเทา หางยาวเป็นพู่ ชอบหากินในเวลากลางคืน สรฺ หึสายํ, อิโว. อภิฯ ตั้ง สมุ อุปสเม? หมาใน ก็แปล.
  19. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  20. สิสฺสานุสิสฺส : (ปุ.) ศิษย์และศิษย์น้อย, ศิษย์ใหญ่และศิษย์น้อย, ศิษยานุศิษย์, ไทยใช้เป็น ศานุศิษย์ ก็มี.
  21. สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
  22. สีตาลุ : (วิ.) มีความหนาวเป็นปกติ วิ. สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ อาลุ ปัจ. พทุลตัท.
  23. สีติภูต : ค. เป็นผู้เย็น, เป็นผู้เงียบ, เป็นผู้สงบ
  24. สีติภูติ : (วิ.) เป็นธรรมชาติเย็นเป็นแล้ว.
  25. สีลกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งศีล, กถาพรรณาศีล, สีลกถา, ศีลกถา.
  26. สีลวติ : (อิต.) ชี ชื่อของหญิงนักบวชโกนผม โกนคิ้วนุ่งห่มผ้าขาว ถือศีล ๘ เป็นนิจศีล.
  27. สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
  28. สีสก : (นปุ.) จันทร์แดง, สันตะวา ขึ้นในน้ำกินได้. เป็นปุ. ก็มี.
  29. สุกทริยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก, ความเป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก.
  30. สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.
  31. สุกริก : (ปุ.) คนผู้ฆ่าสุกรเป็นอยู่, พรานหมู. วิ. สูกเร หนฺตฺวา ชีวตีติ สูกริโก. ณิก ปัจ.
  32. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  33. สุขุทฺรย : (วิ.) มีสุขเป็นกำไร.
  34. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  35. สุโคจร : (วิ.) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์. สุทฺธิ + โคจร. ลบ ทฺธิ.
  36. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  37. สุจิตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของสะอาด. ตฺตปัจ.
  38. สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  39. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  40. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  41. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  42. สุทฺธาวาส : (ปุ.) สวรรค์ชั้นสุทธาวาส ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ใน ๑๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของพระอนาคามี. วิ. สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทฺธาวาโส.
  43. สุทฺโธทน : (ปุ.) สุทโธทนะ พระนามของเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ.
  44. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  45. สุธาโภชน : (นปุ.) โภชนะอันสะอาด, โภชนะอันประณีต, สุธาโภชน์ (ของกินอันเป็นทิพย์).
  46. สุนฺทร : (วิ.) งาม, ดี, ดีนัก, ชอบใจ, เป็นที่ชอบใจ, เพราะ, ไพเราะ, น่าฟัง, รุ่งเรือง, จรูญ, จำรูญ. วิ. สุฎฐุ ทรียเตติ สุนฺทรํ. สุฎฺฐุปุพฺโพ, ทรฺ อาทเร, อ, ฎฺฐุโลโป. ส. สุนฺทร.
  47. สุนนฺท : (วิ.) เป็นที่ยินดี, เป็นที่เพลิดเพลิน, ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, สบาย.
  48. สุปฎฎน : (นปุ.) ท่าเป็นที่ข้าม. ยุ ปัจ.
  49. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  50. สุปฺปตึก : (ปุ.) สุปปตีกะ ชื่อช้างประจำทิศอีสาน เป็นทิศที่ ๘ ใน ๘ ทิศ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | [3251-3300] | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0617 sec)