Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 3801-3850
  1. อลาปุอลาพุอลาวุ : (อิต.) น้ำเต้า.วิ.อาลมฺพติอวสํสตีติอลาพุ.อาปุพฺโพ.ลมฺพฺอวสํสเนอุ, รสฺโส, มฺโลโป.ทีโฆจ. แปลงพฺเป็นปฺ, วฺเป็นอลาปุอลาวุ.ตั้งลพิธาตุก็ได้.ส.อลาพุ.
  2. อลิก : (วิ.) เหลาะแหละ, เหลวไหล, ไม่จริง, พราง, ไม่เป็นที่รัก.วิ.อลติเอเตนาติอลิกํอลฺอลิวาพนฺธเน, ณิโก.
  3. อลิอฬิ : (ปุ.) ผึ้ง, ตัวผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง, กา, นกเค้า, เหล้าหวาน.วิ.อรตีติอลิอฬิวา.อรฺคมเน, อิ, รสฺสลตฺตํ, ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.ส. อลิ.
  4. อโลปการ : ค. ทำให้เป็นคำๆ
  5. อวกฺการ : (วิ.) อันกระทำลง, อันเป็นเดน.
  6. อวขณฺฑน : (นปุ.) การขาด, ความเป็นท่อน.อวปุพฺโพ, ขฑิเฉทเน, ยุ.
  7. อวจฺฉิทฺท : ค. ใช้ในคำว่า ฉิทฺทาวฉิทฺทํ เป็นรู, เป็นช่อง
  8. อวจฺเฉทก : ค. ซึ่งตัดออกเป็นชิ้นๆ
  9. อวญฺฌ : ค. ไม่เป็นหมัน
  10. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  11. อวตฺถา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความดำรงอยู่, ความกำหนด, อวปุพฺโพ, ถาคตินิวตฺติยํ, อ, ตฺสํโยโค.ส.อวสฺถา.
  12. อวทญฺญุต, อวทญฺญู : ค. ผู้ไม่เผื่อแผ่, ผู้ทำเป็นไม่รู้ความประสงค์ของผู้ขอ
  13. อวนิ : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺเตอวตีติอวนิ.อวฺรกฺขเณ, ยุ, นสฺสนิตฺตํ (แปลงนเป็นนิ), นสฺสวาอสฺสอิตฺตํ (หรือแปลงอแห่งนเป็นอิ). หรือลงอนิปัจ.รูปฯลงอิปัจ.นฺอาคม.เป็นอวนีบ้างส.อวนิอวนี.
  14. อวนีปติ, อวนีส : ป. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน
  15. อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
  16. อวมงฺคล, อวมงฺคลฺล : ๑. นป. อวมงคล, ความไม่เจริญ ; ๒. ค. ไม่เจริญ, ไม่เป็นมงคล
  17. อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
  18. อวฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ฉลาดเฉียบแหลม ; ความไม่แสดงผลออกมาให้ปรากฏ
  19. อวฺยถิ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. อาปุพฺโพ, วิคติยํ, ถิ.แปลงอิเป็นยรัสสะอาเป็นอ.
  20. อวฺยยีภาว : ป. ความเป็นของไม่สิ้น ; เป็นชื่อของสมาสซึ่งมีอัพยยศัพท์เป็นบทประกอบ
  21. อวยว : (วิ.) เป็นส่วน ๆ, แยกออกเป็นส่วน ๆ, เป็นชิ้น.
  22. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  23. อวฺยาปชฺฌ : ๑. นป. การไม่เบียดเบียน, ความเป็นผู้มีใจกรุณา ; ๒. ค. ปราศจากการกดขี่, มีใจกรุณา
  24. อวรุทฺธก : ค. ปิดล้อม, กั้น, ขัดขวาง, ขับไล่ ; อันเป็นข้าศึก
  25. อวลญฺช : (วิ.) อัน....พึงใช้สอยไม่ได้, มีรอยเป็นที่กดลงไม่มี, ไม่มีรอย.นปุพฺโพ, วลญฺชฺอุปโภเค, อ.
  26. อวลิขติ : ก. ขูดออก, ลบออก, ตัดเป็นชิ้นๆ
  27. อวสร : (ปุ.) คราว, ต้นเหตุ, โอภาส.อวปุพฺโพสรฺคติยํ, อ.ส.อวสร.
  28. อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
  29. อวสาน : (ปุ.) ที่สุดลง, กาลเป็นที่สุดลง, กาลเป็นที่จบลง, ที่สุด, ที่จบ, การจบ. อวปุพฺ-โพ, สาอวสาเน, ยุ.ส.อวสาน.
  30. อวฺหายน : (นปุ.) คำเรียก, ฯลฯ.ยุปัจ.แปลงเอเป็นอาย.
  31. อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
  32. อวาวฏ : ค. เป็นอิสระ, ไม่มีใครขัดขวาง, ซึ่งยังไม่ได้แต่งงาน
  33. อวิปจฺจนีกสาตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ยินดีในการโต้แย้ง
  34. อวิปริณามธมฺม : ป. ความไม่เปลี่ยนแปลง, ความไม่แปรไปเป็นอย่างอื่น
  35. อวิภูต : ค. ซึ่งไม่แจ้งชัด, อันไม่ปรากฏชัด, อันไม่เป็นจริง
  36. อวิรต : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, สะดวก, เนือง ๆ, เป็นนิตย์.นวิรมตีติอวิรตํ.นวิปุพฺโพ, รฺมุรมเณ, โต.
  37. อวิส : ค. ไม่ใช่ยาพิษ, ไม่มียาพิษ, ไม่เป็นพิษ
  38. อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
  39. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  40. อเวหาสกุฏิ : อิต. กุฎีไม่เป็นร้าน, กุฎีที่ไม่แขวนอยู่ในอากาศ คือ กุฎีไม่สูง
  41. อสกฺขิลวาจตา : อิต. ความเป็นผู้กล่าววาจาอันไม่เป็นมิตร, การพูดถ้อยคำอันไม่อ่อนหวาน
  42. อสกี : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, ไม่ใช่ครั้งเดียว.
  43. อสกึ : ก. วิ. ไม่ใช่ครั้งเดียว, บ่อยๆ, เนืองๆ
  44. อสงฺกุสก : ค. ไม่ขัดกัน, ไม่เป็นข้าศึกกัน
  45. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  46. อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
  47. อสติ : ๑. ก. กิน, กลืนกิน, ดื่ม ; ๒. กิต. เมื่อไม่มี, ไม่มีอยู่, ไม่เป็นอยู่ ; ๓. ค. ไม่มีสติ
  48. อสทานธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เสื่อม, สภาพที่ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
  49. อสนฺโทสธมฺม : ค. ผู้ไม่มีความโกรธเป็นธรรมดา
  50. อสนิอสนีอสุนี : (ปุ. อิต.) สายฟ้า (วชิร), อาวุธแหลม, อาวุธพระอินทร์.วิ.อสฺสเต.ธาตุกมเนนอายุเธนาติอสนิ.อสฺโภชเนอนิ.ภณฺฑนตฺถายอสฺสเตเทเวหีติวาอสนิ.อสุเขปเน, อนิ.ทีฆะ เป็นอสนีเอาอเป็นอุเป็นอสุนี.ส.อศนิ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | [3801-3850] | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0890 sec)