Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 451-500
  1. ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  2. ตาณ : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
  3. ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
  4. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  5. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  6. ตาปิญฺช : (ปุ.) เต่าร้าง, หมาก, คูน. วิ. ตาปิยํ ชายตีติ ตาปิญฺโช. อญฺญตฺเถ โช , พินฺทฺวาคโม. ฏีกาอภิฯ เป็น ตาปิญฺฉ. อญฺญตฺเถ โฉ.
  7. ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
  8. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  9. ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
  10. ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
  11. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  12. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  13. ติกูฏ : (ปุ.) ติกูฏะ ชื่อภูเขา วิ. ตีณิ กูฏานิ อสฺสาติ ติกูโฏ. เป็น ติกุฏ ก็มี.
  14. ติณสูล : (นปุ.) มะลิซ้อน วิ. ติณานิ สูลนฺติ ยสฺมึ ตํ ติณสูลํ. สูลฺ รุชายํ, อ. เป็น ติณสุล บ้าง.
  15. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  16. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  17. ติถิ : (ปุ. อิต.) วัน (วันทางจันทรคติ), ดิถี.วิ. ตโนตีติ ติถิ. ตนุ วิตฺถาเร, ถิ, นุโลโป, อสฺสิ ( แปลง อ เป็น อิ). อถวา, ตายตีติ ติถิ. ตา ปาลเน, อิถิ. เป็น ติถี ติตฺถี ก็มี. ส. ติถิ ติถี.
  18. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  19. ตินีส : (ปุ.) ไม้เต็ง, ไม้อุโลก. วิ. รถํ ตโนติ เยนโส ตินีโส. ตนุ วิตฺถาเร, อีโส. แปลง อ ที่ ต เป็น อิ.
  20. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  21. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  22. ติมินฺท : (ปุ.) ปลาติมินทะ ชื่อปลาใหญ่. วิ. ติมีนํ อินฺโท ติมินฺโท. เป็น ติมินนฺท บ้าง วิ. ติมิโน มจฺเฉ นนฺทยตีติ ติมินนฺโท.
  23. ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
  24. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  25. ติลิจฺฉ : (ปุ.) งูขว้างค้อน วิ. ติล มิจฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติลปุพฺโพ, อิสุ อิจฺฉายํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ. อถวา, ติริยํ อญฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติริยปุพฺโพ, อฉิ อายาเม, อ. ลบ ย ที่บท หน้าแปลง ริ เป็น ลิ แปลง ฉ ที่สุดธาตุ เป็น จฺฉ. งูเห่า ก็แปล.
  26. ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
  27. ติวุตา : (อิต.) จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง. วิ. ติสฺโส วุตา ตาราชิโย ยสฺสา สา ติวุตา. เป็น ปุ. ก็มี ดู ติปุฏา ประกอบ.
  28. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  29. ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
  30. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  31. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  32. ตุงฺค : (วิ.) สุง. ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อ. แปลง ช เป็น ค นิคคหิตอาคมต้นเหตุ. ส. ตุงฺค.
  33. ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
  34. ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ  ลบที่สุดธาตุ.
  35. ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
  36. ตุณฺณ : (วิ.) พลัน, เร็ว, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. แปลง รฺ เป็น ณฺ ยุ เป็น อณ.
  37. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  38. ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
  39. ตุมฺภ : (ปุ. นปุ.) คนโทน้ำ, หม้อน้ำ. ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ. แปลง พ เป็น ภ.
  40. ตุรงฺคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่ไปเร็ว, ควาย, กระบือ. ตุร+น+คมฺ ธาตุ อิ หรือ ณิ ปัจ. แปลง น เป็น ง มฺ เป็น รฺ ทีฆะต้นธาตุ.
  41. ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
  42. ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
  43. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  44. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  45. ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
  46. ตูลปิจุ : (ปุ.) ปุบแห่งนุ่น, นุ่นและสำลี. รัสสะ อู เป็น อุ เป็น ตุลปิจุ บ้าง.
  47. เตชสี เตชสฺสี : (วิ.) ผู้มีอำนาจ, ผู้มีเดช (อำนาจ). วิ. เตโช อสฺส อตฺถีติ เตชสี เตชสฺสี วา. สี ปัจ. ศัพท์หลังซ้อน สฺ หรือ แปลง สี เป็น สฺสี.
  48. เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
  49. โตมร : (ปุ.) หอก ( แทกตีนช้าง), หอกซัด, อาวุธสำหรับซัด,โตมร( สามง่ามที่มีปลอก รูปใบโพธิ์สวมอยู่). วิ. ตุชฺชติ อเนนาติ โตมโร.ตุท. พฺยถเน, อโร, ทสฺส โม, โอตฺตํ (แปลง อุ เป็น โอ ). ส. โตมร.
  50. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0821 sec)