Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 551-600
  1. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  2. ทายน : (นปุ.) การตัด, การเกี่ยว, การเกี่ยว ข้าว. ทา ขณฺฑเน, ยุ. แปลง อา เป็น อาย.
  3. ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
  4. ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
  5. ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
  6. ทารุหฬิทฺทา : (อิต.) ไม้เหลือง, ขมิ้น. วิ. หฬิทฺทวณฺณทารุตาย ทารุหฬิทฺทา. กลับ บทหน้าไว้หลัง. เป็น ทารุหลิทฺทาบ้าง.
  7. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  8. ทาฬิม ทาลิม : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม. ทฬฺ วิทารเณ, โม, อิ อาคโม. เป็น ทามฺภ บ้าง.
  9. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  10. ทิคมฺพร : (ปุ.) คนผู้มีผ้าคือทิศ, คนนุ่งทิศ, คนเปลือย, นิครนถ์. วิ. ทิสา เอว อมฺพรํ วตฺถํ, น ปกติวตฺถ เมตสฺสาติ ทิคมฺพโร. แปลง ส เป็น ค. ส. ทิคมฺพร.
  11. ทิฆมฺพร : (นปุ.) ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน. ทีฆ+อมฺพร รัสสะ อี เป็น อิ. ส. โวฺยมนฺ.
  12. ทิช : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว. ชุ ทิตฺติยํ, อ. เทว๎ภาวะ ชุ แปลง อุ เป็น อิ เป็น ชิ แปลง ชิ เป็น ทิ.
  13. ทิฏฺฐ : (ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺฐยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺฐ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.
  14. ทิทฺธ : (วิ.) ฉาบ, ทา, ไล้. ทิหํ อุปเลปเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  15. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  16. ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ : (วิ.) ที่สองด้วยกึ่ง, ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, หนึ่งครึ่ง. วิ. อฑฺเฒน ทุติโย ทิยฑฺโฒ. ทิวฑฺโฒ แปลง ทุติย กับ อฑฺฒ เป็น ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ รูปฯ ๓๙๕.
  17. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  18. ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
  19. ทิรสญฺญู : (ปุ.) สัตว์ลิ้มรสด้วยลิ้นสองแฉก, งู. วิ. ทฺวีหิ ชิวฺหาหิ รสํ ญายตีติ ทิรสญฺญู. ทฺวิรสสทฺทุปทํ, ญา อสฺสารทเน, รู. แปลง ทฺวิ เป็น ทิ เป็น ทฺวิรสญฺญู โดยไม่แปลง ทฺวิ บ้าง.
  20. ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
  21. ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
  22. ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
  23. ทีฆนิกาย : (ปุ.) ทีฆนิกายชื่อคัมภีร์ เป็น คัมภีร์ต้นของพระสุตตันตปิฎก.
  24. ทีฆมญฺชส : (นปุ.) ทางยาว, หนทางยาว, ทางไกล, หนทางไกล. ทีฆ+อญฺชส มฺอาคม. เป็น ทีฆญฺชส บ้าง.
  25. ทีฆรตฺต : (นปุ.) ราตรียาว, ราตรีนาน, กาลนาน. วิ. ทีฆา รตฺติโย ทีฆรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต.
  26. ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ : (วิ.) มีอายุยาว, มีอายุ นาน, มีอายุยาวนาน, มีอายุยืน, มีอายุ ยืนนาน, มีอายุยั่งยืน. คำที่สอง ก สกัด คำที่สาม แปลง ยุ เป็น วุ.
  27. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  28. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  29. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  30. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  31. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  32. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  33. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  34. ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
  35. ทุทฺธ : (นปุ.) นม, นมสดง วิ. ทุยฺหเตติ ทุทฺธํ. ทุหฺ ปปูรเณ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ที่สุดธาตุ.
  36. ทุ ทุเว : (ไตรลิงค์) สอง, แปลง ทฺวิ เป็น ทุ. ทุเว. รูปฯ ๓๙๔.
  37. ทุธา : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนสองง ทฺวิ+ธาปัจ. วิภาตตัท. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.
  38. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  39. ทุรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทุรตฺตํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ อิ ที่ รตฺติ เป็น อ รูปฯ ๓๙๔.
  40. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  41. ทุวงฺค : (นปุ.) องค์สอง, สององค์. วิ. เทวฺ องฺคานิ ทุวงฺศํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ วฺ อาคม.
  42. ทุสน โทสน : (นปุ.) อันประทุษร้าย, การประ- ทุษร้าย, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสเน, ยุ. ศัพท์ตันทีฆะ ศัพท์หลัง พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  43. เทฑฺฑุภ : (ปุ.) งูน้ำ วิ. เทฑฺเฑน ราชิยา อุภตีติ เทฑฺฑโภ, เทฑฺฑปุพฺโพ, อุภฺ ปปูรเณ, อ. ฎีกาอภิฯ เป็น เทฑฺฑุ.
  44. เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
  45. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  46. เทวทตฺต : (ปุ.) เทวทัต ชื่อของเจ้าโกลิย องค์หนึ่ง, พระเทวทัต. วิ. เทเวน ทินฺโน เทวทตฺโต. แปลง ทินฺน เป็น ทตฺต.
  47. เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
  48. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
  49. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  50. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0649 sec)