Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หน้าหนาว, หน้า, หนาว , then หนา, หน้า, หนาว, หน้าหนาว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หน้าหนาว, 427 found, display 201-250
  1. มาทิกฺข มาทิส มาที มาริกฺข มาริส : (วิ.) ผู้เช่นกับด้วยเรา, ผู้เช่นเรา. วิ. มมิว นํ ปสฺสตีติ มาทิกฺโข. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ วา มาทิกฺโข. อมฺห บทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. แปลง อมฺห เป็น ม ทีฆะ รูปฯ ๕๗๒.
  2. มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
  3. มุขจนฺท : (ปุ.) หน้าเพียงดังดวงจันทร์.
  4. มุขจุณฺณก : (นปุ.) เครื่องผัดหน้า, แป้งผัดหน้า.
  5. มุขโธวน : นป. การล้างหน้า, การล้างปาก
  6. มุขปุญฺฉน : นป. การเช็ดหน้า, ผ้าเช็ดหน้า
  7. มุขผุลฺล : (นปุ.) เครื่องประดับหน้า วิ. มุเข ผุลฺลตีติ มุขผุลฺลํ. ผุลฺลฺ วิกสเน, อ.
  8. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  9. มุขวิการ : ป. การปุ้ยปาก, การเสนอหน้า
  10. มุขวิเลปน : (นปุ.) เครื่องทาหน้า, เครื่องไล้หน้า.
  11. มุโขทก : (นปุ.) น้ำสำหรับบ้วนปาก, น้ำบ้วนปาก, น้ำสำหรับล้างหน้า, น้ำล้างหน้า.
  12. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  13. มุติงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. วิ. มุทํ ปโมทํ อิงฺคติ อเนนาติ มุติงฺโค. มุทปุพฺโพ, อิงฺคฺ คมเน, อ, ทสฺส โต.
  14. มุทิงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. ดู มุติงฺค.
  15. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  16. ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
  17. วสฺสาน : ป. ฤดูฝน, หน้าฝน
  18. สกฺขิ : อ. เผชิญหน้า
  19. สงฺโกจ : ป. การเบี้ยวบูด, การสยิ้วหน้า; รูปวิบัติ
  20. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  21. สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
  22. สปฺปฏิภย : ค. มีอันตรายเฉพาะหน้า, เป็นไปกับด้วยอันตราย
  23. สปิฎภย สปฺปฎิภย : (วิ.) มีภัยเฉพาะ, มีภัยเฉพาะหน้า, มีภัยจังหน้า.
  24. สมฺปยาต : กิต.ไปข้างหน้า, เดินต่อไป
  25. สมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอัน...พึงถึงในเบื้องหน้าพร้อม, โลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า, ปรโลก. สํ ปเร ปุพฺโพ, อยฺ คตยํ, อ.
  26. สมฺปรายิก : (วิ.) อันเป็นไปในโลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, ฯลฯ, อันเป็นไปในปรโลก.
  27. สมฺมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะ, เฉพาะหน้า, ตรงหน้า, พร้อมหน้า.
  28. สมฺมุขฏฐาน : (นปุ.) ที่มีหน้าเฉพาะ, ที่ตรงหน้า, ที่พร้อมหน้า.
  29. สมฺมุขตา : (อิต.) ความพร้อมหน้า.
  30. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  31. สมฺมุขี : (วิ.) ผู้มีหน้าพร้อม, ผู้พร้อมหน้า.
  32. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  33. สมฺมุขีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีหน้าพร้อมเป็นแล้ว, เป็นผู้พร้อมหน้าเป็นแล้ว.
  34. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  35. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  36. สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
  37. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  38. สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  39. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  40. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  41. สีต : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น. วิ. อุณฺหาภิตตฺเตหิ เสวียตีติ สีตํ. สิ เสวายํ, โต, ทีโฆ.
  42. สีต สีตล : (วิ.) หนาว, เย็น. ส. ศีต. ศีตล.
  43. สีตาลุ : (วิ.) มีความหนาวเป็นปกติ วิ. สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ อาลุ ปัจ. พทุลตัท.
  44. สีติ : (อิต.) ความหนาว, ความเย็น. สิ เสวายํ, ติ, ทีโฆ.
  45. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  46. หิมวาส หิมเวส : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ที่อยู่อันหนาว, ที่อยู่แห่งหิมะ, ภูเขาหิมพานต์, ป่าหิมพานต์.
  47. หุร : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาล สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  48. เห : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  49. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  50. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-427

(0.0345 sec)