Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 1301-1350
  1. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  2. อามิส : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องล่อใจ, วัตถุเครื่องล่อใจ, สินบน, เหยื่อ, เหยื่อล่อ, เนื้อ (เนี้อสัตว์ต่างๆ ), อามิส ( ของกินอย่างใดอย่างหนึ่งวัตถุมีข้าวเป็นต้น ).วิ. อามียติอนฺโตปกฺขิปียตีติอามิสํ.อาปุพฺโพ, มิปกฺเขปน, สกฺปจฺจโย, กฺโลโป, สปจฺจโยวา.อถวา, มิสฺสทฺเทอามสเนวา, อ. ส. อามิษ.
  3. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  4. ทุกฺขาปน : นป. การทำผู้อื่นให้เป็นทุกข์, การก่อทุกข์
  5. นิทมฺปน : (นปุ.) การเก็บ, การเก็บเอา, การแกะ, การแคะ, การเด็ด, การปลิด. นิทปิ ธาตุ ยุ ปัจ. นิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  6. ปวตฺตาปน, ปวตฺตาปนตฺต : นป. การให้เป็นไป, การดำเนินไป, การสืบต่อ, การประคองไว้
  7. ปิลาปนตา : อิต. ความเป็นอยู่แต่เพียงผิวๆ
  8. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  9. กกฺกร : ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ; กระจก, คันฉ่อง
  10. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  11. กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
  12. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  13. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  14. กจฺจาน กจฺจายน กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ, คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์.
  15. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  16. กญฺจนก : ค. เป็นสีทอง, ทอง
  17. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  18. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  19. กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
  20. กฐินมณฺฑป : ป. บริเวณที่พระภิกษุขึงผ้ากฐินทำให้เป็นจีวร
  21. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  22. กณฺฏกี : (ปุ.) ขนุน, ต้นขนุน. (ลูกมีผิวเป็น หนาม).
  23. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  24. กณฺฐก : ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
  25. กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.
  26. กณฺฑุโรคี : ค. เป็นโรคฝี
  27. กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
  28. กณฺณิกาพทฺธ : ค. ซึ่งผูกให้เป็นช่อ, ที่ติดกันเป็นช่อ
  29. กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ; ๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
  30. กณฺหชฏิ : ป. นักพรตที่มีผมสีดำหรือมีผมเป็นมัน
  31. กณฺหอญฺชน : นป. การขัดจนเป็นมัน, การขัดให้เป็นเงา
  32. กณิฏฐ : ป. น้อยที่สุด, เล็กที่สุด, ผู้เป็นน้องคนเล็ก
  33. กตตฺต : นป. ความเป็นผู้มีการงานอันทำแล้ว
  34. กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
  35. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  36. กตปาปกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอัน ทำแล้ว, ผู้มีกรรมคือบาปอันทำแล้ว.
  37. กตปุญฺญกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบุญอัน ทำแล้ว, ฯลฯ.
  38. กตปุญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้ว
  39. กตม กตร : (วิ.) ไหน, คนไหน, เป็นไฉน, อะไร. ส. กตม กตร.
  40. กตเวทิตา : อิต. ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, การตอบแทนคุณท่าน
  41. กตาภินิหาร : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นเครื่องนำออก ซึ่งคุณอันยิ่งอันทำแล้ว, ผู้มีอภินิหาร อัน ทำแล้ว, ผู้มีกฤษฎาภินิหาร, ผู้มี กฤดาภินิหาร.
  42. กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
  43. กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
  44. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  45. กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
  46. กถปการ : ค., กถํวิธ ค. มีชนิดไร, เป็นอย่างไร
  47. กถภูต : ค. มีชนิดใด, เป็นอย่างไร, บังเกิดแล้วอย่างไร
  48. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  49. กทฺทมีกต : ค. ทำให้เป็นเปือกตม, ทำให้สกปรก
  50. กนกสิขรี : ค. มียอดเป็นทอง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | [1301-1350] | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1422 sec)