Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 1351-1400
  1. กนฺทฬ : ป. ชื่อบัวน้ำ ซึ่งใช้เป็นอาหารได้มีเหง้าใหญ่มาก
  2. กนิฏฐตฺต : นป. ความเป็นของเล็กน้อย
  3. กปฺปชาติก : ค. ผู้เป็นคนตระกูลกัลบก, ผู้เกิดในตระกูลช่างตัดผม
  4. กปฺปพินฺทุ : (นปุ.) จุดอันสำเร็จ, จุดอัน สมควร, จุดอันภิกษุทำบนผ้าให้เป็นของ ควรใช้สอย, กัปปพินทุ คือจุดที่พระทำบน ผ้าของพระ เพื่อทำให้เสียสีหรือเพื่อเป็น เครื่องหมายให้จำได้.
  5. กปฺปาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกัป, กาลสุดแห่งกัป, ที่สุดแห่งกัป, กาลเป็นที่ สุดแห่งกัป, กัลปาวสาน. ส. กลฺปาวสาน.
  6. กปฺปิก : ค. ผู้เป็นไปในกัลป์, ผู้เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะ
  7. กปฺปิยการก : (ปุ.) กัปปิยการพ ชื่อคนผู้ทำ ของที่ไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นของที่ สมควรแก่สมณะ, ผู้ปฏิบัติพระ, ลูกศิษย์พระ.
  8. กปฺปิยกุฏิ : อิต. กัปปิยกุฏี, กุฎีนอกวิหารใช้เป็นที่เก็บของที่ถูกต้องตามพุทธานุญาต
  9. กปฺปิยสญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความสำคัญว่าควร
  10. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  11. กปิลวตฺถุ : (นปุ.) เมืองเป็นที่อยู่ของฤาษีชื่อ กปิละ, เมืองชื่อกบิลพัสดุ์, เมืองกบิลพัสดุ์. วิ. อาทิกาเล กปิลนามกสฺส อิสิโน นิวาส นฏฺฐนตฺตา กปิลวตฺถุ.
  12. กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
  13. กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
  14. กมฺพุคีว : ค. มีคองามเป็นปล้องๆ ดุจหอยสังข์
  15. กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
  16. กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
  17. กมฺมกิเลส : ป. กรรมกิเลส, กรรมเป็นเหตุให้เศร้าหมอง
  18. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  19. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  20. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  21. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  22. กมฺมทายาท : (วิ.) ผู้รับมรดกของกรรม, ผู้มี กรรมเป็นมรดก.
  23. กมฺมเธยฺย : นป. ความเป็นผู้เอาธุระในการงาน; หน้าที่
  24. กมฺมนฺตฏฐาน : นป. ที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำงาน, สถานที่ทำงาน
  25. กมฺมนฺติก : ค. ผู้ประกอบด้วยการงาน, ผู้เป็นกรรมกร
  26. กมฺมนิเกตฺวา : ค. มีกรรมเป็นที่พำนักอาศัย
  27. กมฺมปจฺจย : ๑. ป. กรรมปัจจัย, ปัจจัยของกรรม ; ๒. มีกรรมเป็นเครื่องสนับสนุน
  28. กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
  29. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  30. กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
  31. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  32. กมฺมมูล : ค. มีกรรมเป็นมูลเหตุ
  33. กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
  34. กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
  35. กมฺมโยนิ, - นี : ค. มีกรรมเป็นกำเนิด
  36. กมฺมลกฺขณ : ค. มีกรรมเป็นลักษณะ
  37. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  38. กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
  39. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  40. กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
  41. กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
  42. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  43. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  44. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  45. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  46. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  47. กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
  48. กมฺมสีล : ค. ผู้ทำการงานเป็นปกติ
  49. กมฺมารามตา : อิต. ความพอใจใจการงาน, ความเป็นผู้ยินดีในการงาน
  50. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1460 sec)