Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 201-250
  1. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  2. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  3. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  4. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  5. เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
  6. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  7. คคน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไปแห่งนก, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า. วิ. คจฺฉานฺเตตฺถ วิหงฺคมาทโยติ คคนํ. คมฺ คติยํ, ยุ, มสฺส โค. เมฆ พระอาทิตย์? เป็น คคณ บ้าง.
  8. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  9. คจฺฉ : (ปุ.) กอ, กอไม้, กอผัก, ต้นไม้, คมฺ คติยํ, โณ. แปลง คม เป็น คจฺฉ อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ แปลง ม เป็น จฺฉ.
  10. คณฺฑ : (ปุ.) แก้ม. คณฺฑฺ วทเนกเทเส, อ. คมฺ คติยํ วา, โฑ. วิ. คจฺฉติ สุนภาวนฺติ คณฺ โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ.
  11. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  12. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  13. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  14. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  15. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  16. คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  17. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  18. คพฺโภจน : (นปุ.) การคลอดบุตร, การคลอดลูก. คพฺภ+มุจน ลบ ม แปลง อุ เป็น โอ.
  19. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  20. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  21. คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
  22. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  23. คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
  24. คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
  25. คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
  26. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  27. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  28. คาวี : (อิต.) นางโค, แม่โค, แม่โคสามัญ. วิ. คจฺฉตีติ คาวี. คมฺ คติยํ, อี. อภิฯ น. ๔๐๓. ถ้าตั้ง โค ศัพท์แปลง โอ เป็น อาว อี, อิต.
  29. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น
  30. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  31. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  32. คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
  33. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
  34. คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
  35. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  36. คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
  37. คุฏฺฐ : (ปุ.) แม่มือ, หัวแม่มือ. กุฏ+ฐ แปลง กุ เป็น คุ ลบ อ ที่ ฏ.
  38. คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
  39. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  40. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  41. คุล คุฬ : (ปุ.) น้ำอ้อย, น้ำอ้อยงบ, น้ำตาล, น้ำตาลงบ, ลูกกลมๆ, ก้อน, ก้อนข้าว, ช่อ, พวง, มัด กลุ่ม, ขลุบ, (ลูกคลีสำหรับแข่ง ขันกัน) เป็น คุลบก็มี. คุฬฺ รกฺขเณ, อ. คุ สทฺเท วา, โฬ. ศัพท์ต้น แปลง ฬ เป็น ล โมคฯ ลง ฬฺก ปัจ.
  42. คุหา : (อิต.) ถ้ำ, คูหา คือช่องที่เว้าเข้าไป. คุหฺ สํวรเณ, อ. เป็น คูหา ก็มี.
  43. เคณฺฑ : (ปุ.) ลูกข่าง. คุฑิ เวฐเน, โณ, อุสฺเส (แปลง อุ เป็น เอ), นิคฺคหิตาคโม.
  44. เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
  45. เคป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
  46. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  47. เคริก : (นปุ.) ดินสอพอง. เป็น อิต. ก็มี.
  48. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  49. โคณ : (ปุ.) โค, โคผู้. วิ. คจฺฉตีติ โคโณ. คมฺ คติยํ, ยุ, มฺโลโป, อสฺโส แปลง น ซึ่งแปลง จาก ยุ เป็น ณ.
  50. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1224 sec)