Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 2051-2100
  1. ทฺวิมาสิก : ค. ประมาณสองเดือน, เป็นเวลาสองเดือน
  2. ทสกณฺฐ : (ปุ.) ทศกัญฐ์ ทศกรรฐ์ ชื่อยักษ์ ผู้มีสิบคอ ซึ่งเป็นเจ้าเมืองลงกาใน เรื่องรามายณะ (รามเกียรติ์).
  3. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  4. ทสน : (นปุ.) ฟัน ( กระดูกเป็นซี่ๆอยู่ในปาก ). ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทํศน.
  5. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  6. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  7. ทสฺสี : (วิ.) ผู้เห้น, ผู้เห็นโดยปกติ, ผู้มีอันเห็นเป็นปกติ, ผู้มีปกติเห็น. ทิสฺ เปกฺขเณ, ณี.ผู้คบ. ฯลฯ, ผู้ถือเอา, ฯลฯ, ผู้ระวัง, ฯลฯ, ผู้ป้องกัน, ฯลฯ, ทิสฺ อาทานสํวรเณสุ.
  8. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  9. ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ; ๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
  10. ทฬฺหทตฺตี : ค. มีความภักดีมั่นคง, จงรักภักดีเป็นอย่างมาก
  11. ทาฐาพลี : ค. ผู้มีเขี้ยวเป็นกำลัง, ผู้มีกำลังอยู่ที่เขี้ยว (หมายถึงราชสีห์)
  12. ทาฐาวุธ : ค. ผู้มีงาเป็นอาวุธ, ผู้ใช้งาเป็นอาวุธ
  13. ทาฐาวุธ ทาฒาวุธ : (ปุ.) สัตวืมีเขี้ยวเป็นอาวุธ, งู. วิ. ทาฐา ทาฒา วา ตสฺส อาวุโธ ติ ทาฐาวุโธ ทามาวุโธ วา.
  14. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  15. ทาตพฺพยุตฺต ทาตพฺพยุตฺตก : (วิ.) อันควร แล้วแก่ความเป็นแห่งทานอันบุคคลพึงให้, อันควรแก่ทานอันบุคคลพึงให้.
  16. ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
  17. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  18. ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
  19. ทานปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, คนผู้เป็นใหญ่ในทาน, เจ้าของทาน, ทานบดี.
  20. ทานวฏฺฏ, - วตฺต : นป. การอวยทาน, การบำเพ็ญทาน, การบริจาคเป็นประจำ
  21. ทานสีล : (วิ.) ผู้มีทานและศีล, ผู้มีการให้เป็นปกติ, ผู้มีปกติให้.
  22. ทานาธิปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, ฯลฯ, ทานาธิบดี. ทาน+อธิปติ.
  23. ทารุชปพฺพช. : (วิ.) อันเกิดแต่ไม้และอันเกิด แต่หญ้าปล้อง, บังเกิดแต่ไม้และเป็นวิการแห่งหญ้ามุงกระต่าย.
  24. ทาสปุริส : ป. บุรุษผู้เป็นทาส, คนรับใช้
  25. ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
  26. ทาสพฺยตา : อิต. สภาพความเป็นทาส
  27. ทาสพฺย, - สวฺย : นป. ความเป็นทาส
  28. ทาสโวฺยปค : (ปุ.) ทาสที่ยอมตัวเป็นทาสเอง วิ. ภยนิวารณาทฺยตฺถํ ทาสภาว มุปคโต ทาสโวฺยปคโต.
  29. ทาสโวฺยปคต : ค. ผู้เข้าถึงความเป็นทาส, ผู้ยอมตัวเป็นทาสเอง
  30. ทาสิตฺต : นป. ความเป็นนางทาสี, สภาพของทาสหญิง
  31. ทาฬิทฺทิย ทาลิทฺทิย : (นปุ.) ความเป็น แห่งคนจน, ฯลฯ. วิ. ทฬิทฺทสฺส ภาโว ทา ฬิทฺทิยํ. ณิย ปัจ. ภาวตัท.
  32. ทิคนฺต : (ปุ. นปุ.) ที่สุดแห่งทิศ,ขอบฟ้า.ทิสา+อนฺตแปลงสเป็นค.
  33. ทิชาธิป : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นใหญ่กว่านก, ครุฑ.
  34. ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
  35. ทิฏฺฐธมฺม : (ปุ.) สิ่งอันตนเห็นแล้ว, สิ่งอัน...เห็นแล้ว, ทิฏฐธรรม. คำ ทิฏฐธรรม มีความหมายดังนี้ ความเป็นไปในปัจจุบัน, โลกนี้, ภพนี้, ชาตินี้, ปัจจุบัน; ปัจจุบัน ชาติ, ปัจจุบันภพ. วิ. ทิฏฺโฐ ธมฺโม ทิฏฺฐธมฺโม. ทิฏฺฐธมฺโม นาม ปจฺจกฺข- อตฺตภาโว.
  36. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  37. ทิฏฺฐมงฺคลิก : ค. ผู้ถือว่าสิ่งที่เห็นเป็นมงคล
  38. ทิฏฺฐวิปตฺติ : (อิต.) ความคลาดเคลื่อนโดยความเห็น, ความคลาดเคลื่อนด้วยความเห็น, วิบัติเพราะความเห็น, ทิฏฐิวิบัติ (เห็นผิดจากความเป็นจริง).
  39. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  40. ทิฏฺฐิฏฺฐาน : นป. ฐานเป็นที่ตั้งแห่งทิฐิ
  41. ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
  42. ทิปทินฺท : ป. พระผู้เป็นจอมแห่งสัตว์สองเท้า, พระพุทธเจ้า
  43. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  44. ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
  45. ทิพฺพปณฺณาการ : ป. เครื่องบรรณาการอันเป็นทิพย์
  46. ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์
  47. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  48. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  49. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  50. ทิพฺพวิหาราทิ : (วิ.) (การอยู่) มีการอยู่ของเทวดาเป็นต้น, (ธรรมเป็นเครื่องอยู่) มี การอยู่อันเป็นทิพย์เป็นต้น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | [2051-2100] | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1368 sec)