Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 2151-2200
  1. ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
  2. ทุพฺภรตา : อิต. ความเป็นคนเลี้ยงยาก
  3. ทุพฺภาสิต : (นปุ.) คำอันเป็นทุพภาษิต.
  4. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  5. ทุมฺเมชฺฌ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ.ทุมฺเมธ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  6. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  7. ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน
  8. ทุรปฺปพฺพชฺช : (นปุ.) การบวชเป็นของยาก, บวชเป็นของยาก. ทุเป บทหน้า วชฺธาตุ ณฺย ปัจ. ลง รฺ และ อ อาคมหลัง ทุ ซ้อน ปุ.
  9. ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
  10. ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
  11. ทุสฺสผล : ค. (ต้นกัลปพฤกษ์) ซึ่งมีผ้าเป็นผล, ซึ่งออกผลเป็นผ้า
  12. ทุสสย : (ปุ.) การนอนเป็นทุกข์.
  13. ทุสฺสย : (วิ.) อัน...ย่อมนอนเป็นทุกข์, นอน เป็นทุกข์. วิ. ทุกฺเขน สียติ ทุสฺสโย. ข ปัจ. รูปฯ ๕๘๙.
  14. ทุสฺสีลฺย ทุสฺสีลย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ศัพท์หลังไม่ลบ อ ที่สุดศัพท์ หรือลง ย ปัจ.?
  15. ทูเตยฺย : นป. ความเป็นทูต, การส่งข่าวสาร, การสื่อสาร
  16. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  17. ทูหร : (วิ.) อัน...นำไปได้โดยยาก, อัน...ลักไป ได้โดยยาก, นำไปยาก ลักไปยาก (ยาก ที่จะนำไป ยากที่จะลักไป) . ทุกฺข+หรฺ+ข ปัจ. ศัพท์ที่มี ทุ นิ อยู่หน้า ถ้าไม่ลง รฺ อาคม มักทีฑะเป็น ทู นี.
  18. เทฑฺฑุภก : นป. ประคดถักเป็นรูปหัวงูน้ำ
  19. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  20. เทวกุญฺชร : ค., ป. ผู้เป็นดุจกุญชรในหมู่เทพ, ผู้ประเสริฐในหมู่เทวดา; พระอินทร์
  21. เทวคห, - คหณ : ค. (ไม้) ซึ่งพระราชาผู้สมมติเทพทรงหวงแหน, ซึ่งเป็นของหลวง
  22. เทฺวชฺฌ : ค., นป. ซึ่งแบ่งออกเป็นสองส่วน; มีความสงสัย, ไม่แน่ใจ; ความสงสัย, ความไม่แน่ใจ
  23. เทวตฺต : นป. ความเป็นเทวดา
  24. เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
  25. เทวตาภาว : ป. ความเป็นเทวดา
  26. เทวตาอุโปสถ : ป. เทวดาอุโบสถ, การรักษาอุโบสถโดยยกเอาเทวดาเป็นพยานในคุณความดีของตน
  27. เทวเทว : (ปุ.) เทพผู้ยิ่งกว่าเทพ. พระเทวเทพ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. เทวานํ อติเทโว เทโว. เทวาน มธิโก วา เทโว เทวเทโว.
  28. เทวธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเทวดาประพฤติ, ธรรมของเทวดา, ธรรมของชาวสวรรค์, ธรรมอันทำบุคคลให้เป็นเทวดา ได้แก่ หิริ และโอคตัปปะ.
  29. เทวปญฺห : นป. การอัญเชิญเทวดาเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงเจ้า
  30. เทวปริวาร : ค. ผู้มีเทวดาเป็นบริวาร
  31. เทฺวภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...สอง. เทวภาวะ คือการทำอักขระให้เป็นสอง, วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. โส เอว เทฺวภาโว. รูปฯ ๔๐.
  32. เทวยานิย : ค. ซึ่งเป็นที่ไปสู่สวรรค์, ซึ่งนำไปสู่เทวโลก
  33. เทวาติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา, เทวดาล่วงเสียซึ่งเทวดา, เทวดาผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, เทวดาและเทวดาผู้ยิ่ง.
  34. เทวานมินฺท : (วิ.) ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา ท.
  35. เทวาลย : (ปุ.) ที่อยู่ของเทวดา, ประเทศเห็นที่อยู่เทวดา, เทวาลัย ชื่อสถานที่เป็นที่ประดิษฐานเทวรูปฯ โบสถ์พราหมณ์, วัดของศาสนาฮินดู. ส. เทวาลย.
  36. เทเวตาปริโภค : ค. ซึ่งเทวดาควรบริโภค, ควรเป็นของบริโภคสำหรับเทวดา
  37. เทโวโรหณสมาคม : (ปุ.) การมาพร้อมกัน (ประชุมกัน) ในกาลเป็นที่เสด็จลงจากเทวโลก.
  38. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  39. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  40. เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  41. เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  42. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  43. เทสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งน่ารังเกียจ, ความน่าเกลียดน่าชัง, ความน่าขยะแขยง
  44. โทภคฺค : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนโชคร้าย (คนมีความดีเสีย คนเสียความดี). วิ. ทุภคสฺส ภาโว โทภคฺคํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑
  45. โทมนสฺสปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งโทมนัส, ผู้ประสพความทุกข์ใจ, ผู้เป็นทุกข์ใจ
  46. โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
  47. โทวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยยาก, ฯลฯ. ทุวจ+ณฺยปัจ. ดู โทมนสฺสประกอบ. รูปฯ๓๗๑
  48. โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
  49. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  50. โทสญฺญู : ค. ผู้รู้ซึ่งโทษ, ผู้รู้จักว่าสิ่งใดเป็นโทษ, ผู้ฉลาด
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | [2151-2200] | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1405 sec)