Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 2301-2350
  1. นทฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายรองเท้า. อภิฯ และฏีกาอภิฯ. เป็นนนฺธิ บ้าง. ส. นทฺธี.
  2. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  3. นนฺทน : (วิ.) สำเร็จ, เพลิดเพลิน, ยินดี, รื่นรมย์, รื่นเริง, สนุก, เป็นที่เพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  4. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  5. นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
  6. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  7. นยนเนตต : (นปุ.) ตาเป็นเครื่องนำไป, นัยน์ เนตร (ดวงตา).
  8. นยนาวุธ : (นปุ.) อาวุธคือดวงตา, ดวงตาเป็น อาวุธ, นยนาวุธ คืออาวุธของยมราช. วิ. นยน เมว อาวุธํ นยนาวุธํ.
  9. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  10. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  11. นรปติ : ป. นฤบดี, ผู้เป็นใหญ่แห่งคน, พระเจ้าแผ่นดิน
  12. นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
  13. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  14. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  15. นวิมน : (อิต.)เก้าสิบ.แปลงทสที่แปลว่าเก้าสิบ(ทสเก้าครั้ง)เป็นนวลงโยวิภัติแปลงโยเป็นอุติรูปฯ๓๙๗.
  16. นสฺสกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักขระที่หายไป.อักษรที่หายไปเช่นรุธิธาตุสำเร็จรูปเป็นรุนฺธติอิหายไปดังนี้เป็นต้น,อักขรวิบัติ,อักษรวิบัติ.
  17. นฺหาน : (วิ.) เป็นเครื่องอาบ, เป็นที่อาบ.
  18. นฺหานเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่อาบ, เวลาแห่ง การอาบ.
  19. นาคปาส : (ปุ.) บ่วงที่เป็นงู, นาคบาส ชื่อ อาวุธของท้าววรุณ. ส. นาคปาศ.
  20. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  21. นาควีฏ : (ปุ.) คราด ชื่อเครื่องมือ ทำเป็นซี่ๆ มีด้ามสำหรับถือ สำหรับชักหรือลาก ขี้หญ้าหรือหยากเยื่อ คราดขนาดใหญ่ เทียมวัวหรือควาย ๑ คู่ สำหรับทำไร่ ทำนา.
  22. นาคาธิปติ : (ปุ.) นาคาธิบดี ชื่อเทพผู้เป็น อธิบดีแห่งนาคเป็นใหญ่และรักษาทิศ ตะวันตก คือท้าววิรูปักษ์.
  23. นาคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นข้าศึกแก่ง, ครุฑ.
  24. นาถ : (วิ.) เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่. นาถฺธาตุ อ ปัจ. ส. นาถ
  25. นาถติ : ก. ป้องกัน, คุ้มครอง, รักษา, เป็นที่พึ่ง
  26. นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
  27. นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
  28. นานตฺตกาย : ค. มีร่างกายเป็นของต่างๆ กัน
  29. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  30. นานากรณ : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องกระทำ ต่างๆกัน.
  31. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  32. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  33. นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
  34. นามมตฺต : ค. สักแต่ว่าชื่อ, เป็นเพียงชื่อ, มีแต่ชื่อ
  35. นายกรฏฺฐมนฺตี : (วิ.) (บุคคล) ทั้งเป็นผู้นำ ทั้งเป็นที่ปรึกษาของรัฐ.
  36. นายิกา : (อิต.) หญิงผู้นำ, หญิงผู้เป็นหัวหน้า, นายิกา (หญิงผู้เป็นนายก). ประเทศที่มี หญิงเป็นนายก ไม่ได้ใช้คำนี้ ใช้คำนายก เช่นเดียวกันกับชาย.
  37. นาร : (วิ.) เป็นของคน นร+ณ ปัจ. ส. นาร.
  38. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  39. นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
  40. นาลิ นาฬิ : (อิต.) ก้าน, กิ่ง, กระบอก, กล่อง, กล้อง, ลำต้น, ช่อง, ท่อ, หลอด, ทะนาน, แล่ง ( ๒ แล่งเป็น ๑ ทะนาน), นาลี นาฬี ชื่อมาตราตวง, ส. นาฑิ, นาฑิลิ, นาฑิลี.
  41. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  42. นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
  43. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  44. นิกฺกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  45. นิกฺกุชฺเชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  46. นิกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  47. นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
  48. นิคูหน นิคฺคูหน : (ปุ.) ต้นไทรวิ.อโธภาคํรุนฺธตีตินิโคฺรโธ.นิ+รุธฺ+ณปัจ.แปลงอุเป็นโอคฺอาคม.ต้นมะเดื่อก็แปล.
  49. นิจฺจตา : อิต. ความเป็นของเที่ยง, ความเป็นของแท้, ความเป็นของยั่งยืน, ความถาวร
  50. นิจฺจทาน : นป. การให้ทานเป็นนิตย์
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | [2301-2350] | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1423 sec)