Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 3051-3100
  1. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  2. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  3. สนฺทฎฐ : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นครั้งแรกก็เป็นเพื่อนกัน). สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, โต. วิ. กิญจิ กาลํ ปสฺสิตพฺโพติ สนฺทิฏโฐ.
  4. สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
  5. สปญฺญ สปฺปญฺญ : (วิ.) ผู้เป็นไปด้วยปัญญา วิ. สห ปญฺญย วตฺตตีติ สปญฺโญ. ผู้มีปัญญา ผู้มีปรีชา. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ.
  6. สปฺปฏิภย : ค. มีอันตรายเฉพาะหน้า, เป็นไปกับด้วยอันตราย
  7. สปฺปาณก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสัตว์, มีตัวสัตว์.
  8. สปริวาร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยบริวาร, มีบริวาร, มีผู้แวดล้อม, มีผู้ห้อมล้อม. วิ.สห ปริวาเรหิ วตฺตตีติ สปริวาโร.
  9. สปิติก : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยบิดา.
  10. สปีติ : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยปีติ, ผู้มีปีติ.
  11. สภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกัน, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว, ภูมิที่ประชุม, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมกัน, การชุมนุมกัน, การเจรจากัน. วิ. สนฺเตหิ ภาติ ทิปฺปตีติ สภา(ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ). สนฺตปุพฺโพ. ภาทิตฺติยํ, กฺวิ. สนฺตสฺส สาเทโส. สํคมฺม ภนฺติ เอตฺถาติ วา สภา. ภา อาขฺยาเน. สห ภนฺติ ยสฺสนฺติ วา สภา. หโลโป. สพฺพมฺหิ ภาตีติ วา สภา. ส. สภา.
  12. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  13. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  14. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  15. สมงฺคิตา : อิต. ความเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
  16. สมจฺเฉร : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยความตระหนี่, อันเป็นไปกับด้วยความตระหนี่.
  17. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  18. สมนฺตโต สมนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดย...ทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยรอบ. อภิฯ และรูปฯ ว่าเป็นนิบาตลงในอรรถแห่งสัตมี.
  19. สมฺปคฺคาห : (ปุ.) ความถือเอารวม, มานะเป็นเหตุให้ยกย่อง.
  20. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  21. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  22. สมฺปทาน : (วิ.) เป็นที่มอบให้แห่งชน, เป็นที่อันเขามอบให้, เป็นที่มอบให้, อ้าง.
  23. สมฺปรายิก : (วิ.) อันเป็นไปในโลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, ฯลฯ, อันเป็นไปในปรโลก.
  24. สมฺปวตฺเตติ : ก. เป็นไปพร้อม
  25. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  26. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  27. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  28. สมฺโพธา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้.
  29. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  30. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  31. สมฺภว : (วิ.) เกิด, ปรากฎ, เป็นอยู่.
  32. สมฺภวน : นป. ความมี, ความเป็น, ความเจริญ
  33. สมฺภู : (วิ.) ผู้เป็นดี, ผู้เป็นด้วยดี, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, กวิ.
  34. สมฺม : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, ผู้มีความเสมอ, ผู้มีความเป็นผู้เสมอ, ผู้มีธุระเสมอ, ผู้มีธุระเสมอกัน.
  35. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  36. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  37. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  38. สมฺมาทิฏฺฐก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ, ผู้เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  39. สมฺมาวตฺตนา : (อิต.) การเป็นไปโดยชอบ, ความเป็นไปโดยชอบ, การประพฤติชอบ, ความประพฤติชอบ.
  40. สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
  41. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  42. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  43. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  44. สมฺมุขีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีหน้าพร้อมเป็นแล้ว, เป็นผู้พร้อมหน้าเป็นแล้ว.
  45. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  46. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  47. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  48. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  49. สมวาย : (วิ.) ประชุม, รวม, รวบรวม, เป็นหมู่, เป็นกลุ่ม.
  50. สมสีส : (นปุ.) สมธรรมและศีลธรรม, ธรรมสงบและธรรมเป็นประธาน. ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๑๕.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | [3051-3100] | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1320 sec)