Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 551-600
  1. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  2. เทวทตฺต : (ปุ.) เทวทัต ชื่อของเจ้าโกลิย องค์หนึ่ง, พระเทวทัต. วิ. เทเวน ทินฺโน เทวทตฺโต. แปลง ทินฺน เป็น ทตฺต.
  3. เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
  4. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
  5. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  6. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  7. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  8. ธมณฺณ : (ปุ.) คนผู้ยืม, ลูกหนี้. อิณ+ธร ลบ ร แปลง อิ เป็น อ กลับบท มฺ อาคม ซ้อน ณฺ หรือแปลง ร เป็น ม ไม่ต้องลง มฺ อาคม.
  9. ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
  10. ธมฺมทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล ที่ละไว้ และ วิ. ดูคำ ธมฺมจารี. ธมฺม+ทิสฺ+ณี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
  11. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  12. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  13. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  14. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  15. ธรณี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก. วิ. สพฺพโลกํ ธรตีติ ธรณี ธรฺ ธารเณ, อณี. ไม่ลบ ณฺ หรือ ยุ ปัจ. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓ ลง อิ ปัจ. เป็น ธรณิ ธรณ+อิปัจ. ส. ธรณิ, ธรณี.
  16. ธาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์, ผักปลาป. วิ. อติสยํ ฐิตํ กโรตีติ ธาตกี. ฐิต+กรฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อิ เป็น อ ฐ เป็น ธ และทีฆะ ลบรฺ อี อิต.
  17. ธาตุ : (วิ.) ผู้ทรงไว้. ธา ธารเณ, ดุ. ผู้ตั้งไว้, ผู้ดำรงอยู่. ฐา คตินิวุตฺติยํ, ตุ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  18. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  19. ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
  20. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  21. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  22. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  23. ธุตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) คนล่อลวง, ธุพฺพิ หึสายํ, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  24. ธูลี : (อิต.) ผง, ละออง, ฝุ่น, ดินปืน ธุ วิธุนเน, ลิ, ทีโฆ. ธู กมฺปเน วา. เป็น ธูลิ โดยไม่ทีฆะบ้าง. ส. ธูลิ.
  25. โธน : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา, ผู้ฉลาด, โธรฺ คติเฉกภาเว, อ. แปลง ร เป็น ณ แปลง ณ เป็น น.
  26. โธรยฺห : (วิ.) ควรเพื่ออันนำไปซึ่งธุระ วิ, ธุรํ วหิตุ มรหตีติ โธโยฺห. ณ ปัจ, ราคาทิตัท.แปลง ว เป็น ย หรือลง ยฺห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒ ลง ยฺหณฺ ปัจ. ผู้นำไปซึ่ง ธุระ วิ. ธุรํ วหตีติ โธรโยห.
  27. : (วิ.) เต็ม, เต็มพร้อม, สมบรูณ์, บริบรูณ์. อุ. นคร ที่เป็นที่เต็มพร้อมแห่งเรือน, ที่เป็น ที่สมบรูณ์ด้วยเรือน, พระนคร. วิ. นํ สมุปนฺนํ ฆรํ เอตฺถาติ นครํ. น+ฆร แปลง ฆ เป็น ค. งาม, ดี. อุ. นาคนฺตุก แขกผู้มาดี (สุนฺทรคต อาคนฺตุก) น+อาคนฺตุก.
  28. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  29. นค : (ปุ.) ต้นไม้, ภูเขา, วิ. น คจฺฉคติ นโค. นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. สญฺญาสทฺทตุตา น อตฺตํ (ไม่แปลง น เป็น อ). รูปฯ ๕๗๐. แปลว่า ปราสาท ก็มี นิคคหิตอาคม เป็น นงฺค บ้าง. ส. นค.
  30. นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
  31. นครโสภินี : (อิต.) หญิงผู้ยังนครให้งาม วิ. นครํ โภเภตีติ นครโสภิณี. หญิงผู้งามในนคร วิ. นคเร โสภิณี นครโสภิณี. หญิง งามเมือง, หญิงคนชั่ว, หญิงแพศยา, หญิงนครโสภิณี, หญิงนครโสเภณี. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ เป็น นครโสภินี.
  32. นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
  33. นงฺคุฏฺฐ : (นปุ.) หาง, หางม้า. วิ. น องฺคตีติ นงฺดุฏฺฐ. นปุพฺโพ, องฺคฺ ดมเน. อภิฯ ลง ฏฺฐปัจ. ฏีกาอภิฯ และรูปฯ ลง ฐ ปัจ. ซ้อน ฎฺ แปลง อ ที่ ค เป็น อุ.
  34. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  35. นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
  36. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  37. นจฺจาสนฺน : (วิ.) ไม่ใกล้นัก, ไม่ชิดนัก. น+ อติ+อาสนฺน. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  38. นชฺโช : (อิต.) แม่น้ำ ท. นทีศัพท์ โยวิภัติ แปลง อี เป็น ย รวมเป็น นทฺย แปลง ทฺย เป็น ช แปลง ช เป็น ชฺช หรือแปลง ทฺย เป็น ช ซ้อน ชฺ หรือแปลง ทฺย เป็น ชฺช แปลงโยเป็น โอ เป็นการต่อศัพท์กับวิภัติ รูปฯ ๑๘๘.
  39. นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
  40. นฎีตฎ : (ปุ.) ฝั่งแห่งแม่น้ำ, ตลิ่งชันแห่ง แม่น้ำ. นที+ตฎ แปลง ที เป็น ฏี.
  41. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  42. นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
  43. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  44. นทิก : (วิ.) มีแม่น้ำ, นทีศัพท์ ก ปัจ. ลงใน พหุพ. รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  45. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  46. นนฺที : (อิต.) แปลเหมือน นนฺทิ เป็น ปุ. ก็มี. อี ปัจ.
  47. นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
  48. นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็นเป็น ปกติสนธิ.
  49. นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
  50. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1092 sec)