Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 601-650
  1. นลนฬ : (ปุ.) ไม้ไผ่, ไม้รวก, ไม้อ้อ, ไม้เสา, นิ นเย, อโล. ลบ อิ ศัพท์หลังแปลง ล เป็น ส. นฑ, นล.
  2. นลาฏ นลาต : (ปุ.) หน้าผาก. นลฺ คนฺเธ, อาโฏ. ศัพท์หลังแปลง ฏ เป็น ต?.
  3. นวภูมิ : (วิ.) มีชั้นเก้า, มีชั้นเก้าชั้น, มีเก้าชั้น. วิ. นว ภูมิโย ยสฺส โส นวภูโม. แปลง ภูมิ เป็น ภูม.
  4. นวมลฺลิกา : (อิต.) มะลิซ้อน, ชบาต้น. วิ. นวา นูตนา มลฺสิกา นวมลฺสิกา. เป็น นวมาลิกา บ้าง. ส. นวมลฺลิกา.
  5. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  6. นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
  7. นหุต : (นปุ.) หมื่น (๑๐ พัน). นหฺ พนฺธเน, โต, อ อาคม เป็น นห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ.
  8. นเหตุเย : (อัพ. นิบาต) เพื่อไม่ให้มี. นบทหน้า หุ ธาตุ ตุเย ปัจ. แปลง อุ เป็น เอ
  9. นิกฺขม : (ปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  10. นิกฺขมณีย นิกฺขมนีย : (ปุ.) เดือนสาวนะ, เดือนเก้า. วิ. อนฺโตวิถิโต พหิ นิกฺขมติ สุริโย เอตฺถาติ นิกฺขมณีโย. อนีย ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  11. นิกฺขมน : (นปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
  12. นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
  13. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  14. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  15. นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็นเป็น อิ.
  16. นิคุณฺฑี นิคฺคุณฑี : (อิต.) ไม้ย่งทราย, ไม้ ย่านทราย, คนทีสอ, โคนดินสอ ก็เรียก. วิ. นตฺถิ คุณฺฑํ คพฺภพนฺธน เมตสฺสาติ นิคุณฺฑี นิคฺคุณฺฑี วา. เป็น นิคฺโคณฺฑี ก็มี.
  17. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  18. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  19. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  20. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  21. นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
  22. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  23. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  24. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  25. นิณฺณย : (ปุ.) ธรรมชาติตัดอารมณ์ไป, ความตระหนักแน่น, ความแน่ใจ. วิ. อารมฺมณํ นิจฺฉินนฺโต นยตีติ นิณฺณโย. นิปุพฺโพ, นยฺ คมเน, อ, นสฺส ณตฺตํ. เป็น นินฺนย โดย ไม่แปลง น เป็น ณ บ้าง.
  26. นิตฺถุนน : (นปุ.) การทอดถอน, การถอนใจ. นิบทหน้า ถุธาตุ นาปัจ. ประจำหมวดธาตุ รัสสะ อา เป็น อ ยุ ปัจ.
  27. นิทหน : (นปุ.) อันเก็บไว้, การเก็บไว้. นิ+ธา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ธา เป็น ทห.
  28. นิทิทฺธิกา : (อิต.) มะอึก วิ. นิทฺทหติ กณฺฏกมุฏเฐติ นิทิทฺธิกา. นิ+ทหฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นิทฺธิกา.
  29. นิธิ : (ไตรลิงค์) สมบัติอัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ อัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ที่รวบรวมไว้เป็นปึก แผ่น, ขุม, ขุมทรัพย์, บุญ. วิ. นิธียตีติ นิธิ. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ เป็น ปุ. โดยมาก. นิธิ.
  30. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  31. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  32. นิปฺผชฺช : (นปุ.) ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺย แปลง ป เป็น ผ ทฺย เป็น ชฺช ซ้อน ปฺ.
  33. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  34. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  35. นิพฺพุทฺธ : (นปุ.) การชกกัน วิ. อโธภาคํ พนฺธนํ วา กตฺวา ยุชฺฌนฺตฺยเตฺรติ นิพฺพุทฺธํ. นิปุพฺโพ, ยุธฺ สมฺปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ แปลง ยุ เป็น พุ. อญญมญญสฺส เวธํ นิพฺเพเธฺนฺตฺยเตฺรติ วา นิพฺพุทฺธํ เวธฺ เวธเน โต, เอสฺสุ.
  36. นิพฺเพส : (ปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ. นิปุพฺโพฺ วิสฺ ผรเณ, โณ. เป็น นิเวส บ้าง.
  37. นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
  38. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  39. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  40. นิยุร : (ปุ.) ทองปลายแขน, กำไรมือ. นิ นเย, อุโร, อิยาเทโส (แปลง อิ เป็น อิย).
  41. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  42. นิรีส : (ปุ.) ไถ, คันไถ. นิปุพฺโพ, ริสฺ คติยํ, โณ. เป็น นปุ. ก็มี?
  43. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  44. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  45. นิวตฺถปารุปนมตฺต : (วิ.) สักว่าผ้าอันบุคคล นุ่งแล้วและผ้าสำหรับห่ม. เป็น สัม. กัม. มี ส. ทวัน. เป็นท้อง.
  46. นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
  47. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  48. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  49. นึก นิงฺก : (ปุ.) นิงกะ ชื่อกวางชนิดหนึ่ง วิ. อตฺตานํ นีจํ กโรตีติ นึโก นิงฺโก วา. ฎีกาอภิฯ เป็น นีก.
  50. ปตฺตวงฺคิ : (ปุ.) เห็ด. ปตฺต +วงฺก+อิปัจ. แปลง ก เป็น ค.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1461 sec)