Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 701-750
  1. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  2. ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
  3. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  4. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  5. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  6. ปุรกฺข : (วิ.) กระทำในเบื้องหน้า, ห้อมล้อม, ผู้อภิเษกแล้ว (พระราชา...). ปุรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. แปลง กรฺ เป็น ข ซ้อน กฺ.
  7. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  8. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  9. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  10. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  11. ปุลฺลิงฺค : (นปุ.) เพศชาย, คำเพศชาย, ปุลลิงค์, ปุลลึงค์, ปุงลิงค์, ปุงลึงค์. วิ. ปุมสฺสลิงฺค์ ปุลฺลิงค์. แปลง ม เป็น ล. รูปฯ ๓๓๖ ลบ ม ซ้อน ลฺ.
  12. ปุลวน : (วิ.) ลอยไป, ปลิวไป. ปลฺ คติยํ, ยุ. วฺ อาคม แปลง อ ที่ ป เป็น อุ.
  13. ปุฬูว ปุฬูวก : (ปุ.) หนอน, แมลง (แมลงต่างๆ). ปุฬฺ สํฆาเต (หึสายํ), อโว, อสฺส อู (แปลง อ เป็น อู). ศัพท์หลัง ก สกัด.
  14. ปูค : (ปุ.) หมาก. ปูชฺ ปูชายํ, โณ. แปลง ช เป็น ค. และแปลว่า ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะด้วย.
  15. ปูฏ ปูฎก : (ปุ.) ห่อ, กลุ่ม, กระบอก. ปุณฺ สงฺฆาเต, โฏ. ลบที่สุดธาตุ ทีฆะ อุ เป็น อู.
  16. เปฏก : (ปุ.) กระบุง, กระเชอ, กระเช้า, กระจาด, ตะกร้า, ภาชนะ. ปิฏฺ สํฆาเต, ณฺวุ. เป็น เปตก บ้าง.
  17. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  18. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  19. เปยฺย : (วิ.) อัน...พึงดื่ม, อัน...ควรดื่ม. วิ. ปาตพฺพํ ปิวิตพฺพํ วาติ เปยฺยํ. อัน..ได้ดื่มแล้ว, อัน...ดื่มอยู่, อัน...จักดื่ม. วิ. อปียตฺถ ปียติ ปียิสฺสตีติ เปยฺยํ. ปา ปาเน, โณฺยฺ แปลง อา กับ ณฺย ปัจ. เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  20. เปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ไปยก, ไปยกา, ปิตุ+อยฺยก ลบ ตุ แปลง อิ เป็น เอ.
  21. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  22. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  23. โปกฺขร : (ปุ.) ช่องพิณ, รางพิณ. วิ. โปเสติ วฑฺเฒติ สทฺเทติ โปกฺขโร. ปุสฺ โปสเน วุฑฺฒิยํ วา, ขโร, อุสฺโส, สสฺสโก. กฏฐาทีหิ โทณิสณฺฐาเนน กตํ วชฺชภณฺฑํ วีณาย โปกฺขโร นาม. เป็น นปุ. บ้าง.
  24. โปกฺขรณี : (อิต.) ตระพัง (บ่อน้ำ กระพัง. สะพังก็เรียก), ตระพังน้ำ (บ่อน้ำ), สระน้ำ, สระน้ำที่ตกแต่งสวยงาม, สระสี่เหลี่ยมจตุรัส, สระมีบัว, สระบัว, สระโบกขรณี. วิ. โปกฺขรํ ชลํ ปทุมญฺจ, ตํโยคา โปกฺขรณี. โปกฺขร+อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  25. โปกฺขรสาตก : (ปุ.) นกดอกบัว, นกกวัก, นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง. วิ. โปกฺขรสฺส สญฺญา ยสฺส โส โปกฺขร-สาตโก. แปลง ญ ตัวหน้าเป็น ต ตัวหนังเป็น ก และทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  26. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  27. โปตฺถลิกา : (อิต.) ตุ๊กตา, รูปปั้น. เป็น ปุตฺตลิกา บ้าง.
  28. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  29. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  30. ผคฺคุนมาส : (ปุ.) เดือนอันมีพระจันทร์เสวยนักษัตรผคฺคุนี, เดือนประกอบ ด้วยผัคคุนฤกษ์, เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม. เป็น ผคฺคุณมาส บ้าง.
  31. ผคฺคุนี : (อิต.) ผัคคุนี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๑ วิ. ผลํ คณฺหาเปตีติ ผคฺคุนี. ผลปุพฺโพ, คหฺ อุปาทาเน, ยุ, อี, ลสฺส โค, หสฺส อุ. แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ผคฺคุณี บ้าง. หรือลบที่สุดธาตุแปลง อ ที่ ค เป็น อุ ก็ได้.
  32. ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็นเป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
  33. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  34. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  35. ผิย : (ปุ.) พาย, แจว, กรรเชียง. วิ. ผิยติ นาวา เอเตนาติ ผิโย. ผิ คมเน. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์. หรือตั้ง ผา วุฑฺฒิยํ, อิโย. แปลง ผิ เป็น ปิ เป็น ปิย บ้าง.
  36. ผุลิงฺค : (นปุ.) ประกายไฟ, แสงที่กระจายออกจากไฟ. วิ. ผุลฺลํ คจฺฉตีติ ผุลิงฺคํ. กฺวิ ปัจ. ลบ ล. สังโยค และที่สุดธาตุ เป็น ผูลิงฺค ก็มี.
  37. เผณิก เผณิล เผนิล : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ลูกกลมๆ ดำๆ ขนาดลูกพุทราให้ทำยา. เผณ+อิล ปัจ. ศัพท์ต้นแปลง ล เป็น ก. ศัพท์ที่สาม แปลง ณิ เป็น นิ.
  38. เผณี : (ปุ.) สัตว์มีพังพาน, งู. ผณ+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อ ที่ ผ เป็น เอ.
  39. พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
  40. พตฺตีส : (อิต.) สามสิบสอง. ทฺวิ+ตึส แปลง ทฺวิ เป็น พา รัสสะ ซ้อน ตฺ.
  41. พทฺท : (วิ.) งาม, ดี, เจริ, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, สุข, สบาย, สำราญ. ภทิ กลฺยาเณ, โท. แปลง ภ เป็น พ.
  42. พทฺธ : (ปุ.) บ่วง. พนฺธฺ พนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ นฺธฺ.
  43. พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
  44. พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
  45. พนฺธว : (ปุ.) ญาติ, มิตร. พนฺธุ เยว พนฺธโว. แปลง อุ เป็น อว.
  46. พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
  47. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  48. พฺยนฺตีกรณ : (นปุ.) การทำให้สิ้นสุด. พฺยนฺต+กรณ อี อาคม หรือแปลง อ ที่ ต เป็น อี.
  49. พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
  50. พฺยาธ : (ปุ.) พราน, นายพราน. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาโธ พฺยาโธ วา. วิชฺ วิชฺฌเน, โณ. แปลง อิ เป็น ย แล้วทีฆะ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1425 sec)