Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 901-950
  1. เมชฺฌ : (วิ.) หมดจด, มงคล, ดี. เมธฺ หึสาสํคเมสุ, โณฺย. แปลง ธฺย เป็น ฌ แปลง ฌ เป็น ชฺฌ หรือ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ. ฎีกาอภิฯ.
  2. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  3. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  4. เมธส : (วิ.) มีปัญญา, มีปรีชา. เมธา+ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อา เป็น อ.
  5. เมรย : (นปุ.) น้ำดอง, น้ำเมา, เมรัย คือ น้ำดองที่ยังไม่ได้กลั่น. วิ. มทํ ชเนตีติ เมรยํ. ณฺย ปัจ. แปลง อ ที่ ม เป็น เอ ท เป็น ร.
  6. โมจน : (นปุ.) การปลด, ฯลฯ, ความปลด, ฯลฯ, การแก้. มุจ+ยุ ปัจ. แปลง อุ เป็น โอ.
  7. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  8. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  9. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  10. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  11. ยว : (ปุ.) ข้าวเหนียว. ยุ มิสฺสเน, อ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  12. ยสสฺสี : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสสฺสี. ยส+สี ปัจ. แปลง ส เป็น สฺส. เป็น ยสสี โดยไม่แปลง ส บ้าง.
  13. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  14. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  15. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  16. ยาวส : (ปุ.) หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, ฟ่อนหญ้า. ยุ มิสฺสเน, อโส. พฤทธี อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว.
  17. ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
  18. ยุคล : (นปุ.) คู่. ยุชฺ โยเค, อโล. หรือตั้ง วิ. ยุ เค อลนฺติ ยุคลํ. แปลง ล เป็นเป็น ยุคฬ บ้าง.
  19. ยุชฺฌน : (นปุ.) อันรบ, การรบ, การรบกัน, การต่อสู้กัน. ยุธฺ สมปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  20. ยุทฺธ : (นปุ.) การต่อสู้กัน, การรบ, การรบพุ่ง, สงคราม. ยุธฺ สมปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  21. ยุทฺธนา : (อิต.) การต่อสู้กัน, ฯลฯ ยุธฺ สมฺปหาเร, ยุ. แปลง ธ เป็น ทฺธ.
  22. ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
  23. ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
  24. ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
  25. โยคฺค : (วิ.) อัน...พึงประกอบ. ยุชฺ โยเค, โณฺย. แปลง ชฺย เป็น คฺค.
  26. โยพฺพญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กสาว, ความเป็นแห่งคนหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นสาว, ความเป็นแห่งคนรุ่นหนุ่ม ความเป็นเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณฺย ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  27. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  28. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  29. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  30. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  31. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  32. รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็นเป็น รชฏ บ้าง.
  33. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  34. รณญฺชห : (วิ.) สละกิเลส, ละกิเลส. รณปุพฺโพ, หา จาเค, อ. เท๎วภาว หา รัสสะ แปลง ห เป็น ช ซ้อน ญฺ.
  35. ลุก อุลูก อุฬุก : (ปุ.) นกเค้า, นกเค้าแมว, นกฮูก, นกแสก, นกพิราบ. อุลฺ คเวสเน, อุโก, อู วา, สกตฺเถ โก. เป็น อุลฺลุก บ้าง. ส. อุลูก.
  36. สชฺฌน : (นปุ.) ความสะอาด, ความหมดจด, ความบริสุทธิ์, ความผุดผ่อง. สุธฺ โสเจยฺเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  37. สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
  38. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  39. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  40. สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
  41. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  42. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  43. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  44. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  45. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  46. สมฺณ : (ปุ.) สมณะ พระสมณะ(ผู้สงบ ผู้สงบระงับ). วิ. สเมติ สมียติ วา ปาปํ อเนนาติ สมโณ. สมุ อุปสเม, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ.
  47. สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
  48. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  49. สมฺปฏิจฺฉน : (นปุ.) การรับพร้อม, การรับ, การตอบรับ, การรับคำ, การรับอารมณ์. สํ ปฏปุพฺโพ, ฉทฺสํวรเณ, อ. แปลง ท เป็น น.
  50. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1407 sec)