Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 1101-1150
  1. เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
  2. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  3. เหยฺย : (วิ.) ควรละ, พึงละ. หา จาเค, โ ณฺย. แปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  4. เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
  5. อกฺกมอกม : (วิ.) เหยียบ.อาบทหน้า กมฺธาตุอปัจ.รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  6. อกฺกม อกม : (วิ.) เหยียบ. อา บทหน้า กมฺ ธาตุ อ ปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  7. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  8. อกต : (วิ.) อันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้วแล้ว. แปลง ต เป็นเป็น อกฏ บ้าง.
  9. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  10. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  11. อกุส องฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆ สำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง. วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วา อํกฺ ลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลง อ เป็น อุ). เวส ฯ ๕๘๘ ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศ องฺกุศสฺ
  12. อโกล องฺโกล : (ปุ.) ต้นปรู. อํกฺ ลกฺขเณ, โอโล. เป็น องฺโกร โดยลง โอร ปัจ. ก็มี.
  13. อขิล : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, วิ. น ขียตีติ อขิลํ.นปุพฺโพ, ขี ขเย, โล, รสฺโส. ฎีกาอภิฯ เป็น ขิ ขเย. ส. อขิล.
  14. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  15. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  16. อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
  17. อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, ฬ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  18. องฺกุร : (ปุ.) หน่อ, หน่อไม้, เชื้อสาย. องฺกฺลกฺขเณ, โร, อสฺส อุตฺตํ (แปลง อ เป็น อุ).ส. องฺกุร.
  19. องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  20. องฺคุฏฺฐ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ.หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ.อคฺคปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบคฺสังโยคเอานิคคหิตเป็นงฺ).องฺคฺคมเนวา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค.ลงกสกัดเป็นองฺคุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  21. องฺคุร : (ปุ.) หน่อ, หน่อไม้, เชื้อสาย.องฺกุรศัพท์ แปลง กุ เป็น คุ.
  22. อจฺจรอจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจศัพย์หลัง แปลง อ ที่ จเป็น อุ.
  23. อจฺจร อจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจ ศัพย์ หลัง แปลง อ ที่ จ เป็น อุ.
  24. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  25. อชคร : (ปุ.) สัตว์ผู้กินแพะ, สัตว์ผู้กินแกะ, สัตว์ผู้กลืนแกะ, ฯลฯ, งูเหลือม.วิ. อชํคิลตีติอชคโล. อชปุพฺโพ, คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ (แปลง อิ เป็น อ), ลสฺสรตฺตญฺจ (และแปลง ล เป็น ร).เป็นอชคล โดยไม่แปลง ล เป็น ร บ้าง. ส.อชคร งูใหญ่.
  26. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  27. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  28. อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  29. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  30. อชฺเฌยฺย : (วิ.) ฟังสวด, ฯลฯ.อธิปุพฺโพ, อิ อชฺฌายเน, โณฺย. แปลงอธิเป็น อชฺฌอิ เป็น เอย เป็น ยฺย.
  31. อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  32. อชญฺญ : (นปุ.) อันตราย, จัญไร. วิ. สพฺพกาลํน ชายตีติ อชญฺญ. นปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย. แปลง ญา เป็นชา ยเป็นญฺญรัสสะอา เป็น อ.
  33. อชา อชี : (อิต.) แม่แกะ, แม่แพะ, แกะตัวเมีย แพะตัวเมีย. เป็น อชฺชา อชฺชี ก็มี.
  34. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  35. อญฺชส : (วิ.) ตรง, ตรงไป, ตรงออกไป.เหยียดตรง, ซื่อตรง.อุชุอชฺชเว, อ.แปลงอุ เป็น อแปลงอุที่ชุเป็นอสลง นิคคหิตอาคมตันธาตุแล้วแปลงเป็นญฺ. ส. อญฺชส
  36. อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
  37. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูก เป็น อิต. ก็มี.
  38. อฏนี อฏฺฏนิ อฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่ เตียง. อฏฺ คมณ, อนี. ยุ วา. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ฎฺฎ.
  39. อฑฺฒ : (วิ.) มั่งคั่ง, มั่งมี, มีทรัพย์, ร่ำรวย, รุ่มรวย.วิ.อชฺฌายติธนนฺติอฑฺโฒ.เฌจินฺตายํ, อ. แปลง เอ เป็น อแปลงฌฺเป็น ชฺฌแปลงชฺฌ เป็นฑฺฒ. ส.อาฒฺย.
  40. อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺยรูป ฯ ๓๙๕.โมค ฯสมาสกัณฑ์๑๐๕แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  41. อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย รูป ฯ ๓๙๕. โมค ฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๕ แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  42. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  43. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  44. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  45. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  46. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  47. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  48. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  49. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  50. อตฺถิ : (อัพ. นิบาต) มี, มีอยู่. ใช้เป็นประธานบ้าง.อตฺถิที่เป็นกิริยาอาขยาต เป็นอสฺ ธาตุออัจ. ติวิภัติ แปลง ติ เป็น ตฺถิลบ ที่สุดธาตุเป็นได้ทั้งสองวจนะ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1288 sec)