Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 1151-1200
  1. อตฺร : (อัพ. นิบาต) ในนี้. อิม+ตฺร ปัจ. แปลงอิม เป็น อ.ใน...นั่น. เอต+ตฺร ปัจ.แปลงเอตเป็นอ.
  2. อติตุณฺฑิก : (ปุ.) หมองู. วิ. อหิโนตุณฺเฑน มุเขนทิพฺพตีติอหิตุณฺฑิโก. อิกปัจ. เป็น อหิคุณฺ-ฑิกบ้าง.
  3. อติถิ : (ปุ.) คนผู้มาสู่เรือน, แขก (คนผู้มาหา)อตฺสาตจฺจคมเน, ถิ, ออาคโม, อสฺสิ.(แปลง อ เป็น อิ).อิถิ วา (หรือ ลงอิถิปัจ.)ส.อติถิ.
  4. อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
  5. อธมณฺณ : (ปุ.) ลูกหนี้.วิ.อิเณอธโมอธมณฺ-โณ.เอา อิ ที่ อิณ เป็น อ ได้รูปเป็นอณ แปลง ณ เป็นณฺณ.แล้วเปลี่ยนบทหน้าไว้หลัง.ส.อธรฺมณ
  6. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  7. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  8. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  9. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  10. อนึก : (ปุ.) กองทัพ, กองทัพที่จัดเป็นขบวน, กองทัพบก.เป็น นปุ. ก็มี. ส.อนึก.
  11. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น ย แปลง ย เป็น ป.
  12. อปมารอปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู.วิ.อปคโตสาโรเยนโสอปมาโรอปสฺมา-โรวา.ศัพท์แรก แปลงส เป็น มศัพท์หลังลงมฺอาคมท่ามกลาง.
  13. อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
  14. อปรโคยาน : (นปุ.) อปรโคยานะชื่อมหาทวีปที่๒ใน๔. เป็น อมรโคยานบ้าง.
  15. อปรรตฺต : (นปุ.) อื่นแห่งราตรี.รตฺติ+อปรแปลง อิ เป็น อ กลับบท.
  16. อภิสขร อภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล. อภิ สํ บทหน้า กรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น ขรฺ รูปฯ ๕๖๖.
  17. อภิสงฺคอภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำแช่ง, คำด่า.อภิปุพฺโพ, สญฺชสงฺเค, อ.แปลงชเป็นค ญฺ เป็น งฺคำหลังซ้อนสฺ.
  18. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  19. อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
  20. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  21. อสฺสฏฺฐอสฺสตฺถ : (ปุ.) ไม้โพธิ์, ต้นโพธิ์.วิ.อสฺสํสพฺพญฺญุตญาณํติฏฺฐติเอตฺถาติ อสฺสตฺโถ.อภิฯ อสฺส+ฐิตแปลงฐิตเป็นตฺถฏีกาอภิฯอสฺส+ฐซึ่งสำเร็จรูปมาจากฐาธาตุอปัจ.แปลงฐ เป็น ถแล้วแปลงถเป็นตฺถศัพท์ต้นแปลงตฺถ เป็นฏฺฐ.ถ้าตั้งฐา, ถาธาตุก็แปลงฐเป็นฏฺฐ, ถเป็นตฺถหรือตั้งอาปุพฺโพ, สาสฺอนุสิฏฺฐิ-โตสเนสุ.ลงอปัจ. ประจำหมวดธาตุและตปัจ.แปลงตเป็นฏฺฐ, ตฺถรัสสะอาทั้งสองเป็นอ.
  22. อสฺสว : (วิ.) ผู้ว่าง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้เชื่อฟัง, วิ.อาเทสิตํอาทเรเนวสุณาตีติอสฺสโว.อาบทหน้าสุธาตุอ หรือณปัจ. พฤทธิอุ เป็น โอ แปลง โอ เป็นอว รัสสะอาเป็นอซ้อนสฺ.
  23. อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้ง ๓ ครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
  24. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  25. อาขฺยาต : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
  26. อาชญฺญ : (วิ.) รู้พลัน, รู้รวดเร็ว.อาปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย.ลงนาปัจ.ประจำธาตุแปลงญา เป็น ชารัสสะลบอา ที่ นาลบณฺรวมเป็นนฺยแปลงนฺย เป็น ญแปลงญเป็นญฺญหรือแปลงนฺยเป็นญฺญก็ได้.ดูวิ.อาชานียด้วย.
  27. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  28. อาถพฺพน : (ปุ.) หมอผู้กำจัดโรคร้ายของช้าง.วิ.อาภุโสหตฺถิโนโรคํถุพฺพตีติอาถพฺพโนอาปุพฺโพ, ถุพฺพฺหึสายํ, ยุ, อุสสตฺตํ (แปลงอุเป็นอ). อปิจ, อาภุโส หตฺถิสฺมึเภสชฺชํถเปตีติอาถพฺพโน.อาปุพฺโพ, ถปฺถปเน, ยุ, ปสฺสโว (แปลงป เป็น ว), วสฺสทวิตตํ(แปลงว เป็น วฺวแล้ว แปลงเป็นพฺพ).เวสฯ ๒๔๒.
  29. อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
  30. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  31. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
  32. อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  33. อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
  34. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  35. อาสภ : (วิ.) นี้ของมนุษย์ผู้ประเสริฐ, นี้ของโค อุสภะ. วิ. อุสภสฺส อิทํ อาสภํ. อุสภสฺส อยํ อาสโภ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง อุ เป็น อา.
  36. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  37. อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
  38. อาหินฺทน : (นปุ.) การเที่ยวไป. อาปุพฺโพ, หิฑิ คติยํ, ยุ. แปลง ฑ เป็น ท, นิคคหิต อาคม.
  39. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  40. อาฬินฺท : (ปุ.) ดู อาลินฺท. แปลง ล เป็น ฬ.
  41. อิกฺกฏ : (ปุ.) หญ้าปล้อง, อิจฺ สุติยํ, อโฏ. แปลง จ เป็น ก ซ้อน กฺ
  42. อิงฺคุที : (อิต.) ไม้สำโรง. อิงฺคฺ คติยํ, อิโท, อิสฺสุ (แปลง อิ เป็น อุ). ไม้จำปา ก็แปล
  43. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  44. อิช : (ปุ.) การบูชา, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบูชาเทพ, คนผู้บูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ยสฺสิ (แปลง ย เป็น อิ).
  45. อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ยชฺ ธาตุ ณฺย ปัจ. แปลง ย เป็น อิ แปลง ชฺย เป็น ชฺช อา อิต.
  46. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  47. อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
  48. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  49. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  50. อิทปจฺจย อิทปฺปจฺจย : (วิ.) (สังสารวัฏ) มีกิเลส มีอวิชชาเป็นต้นนี้เป็นปัจจัย. วิ. อิทํ อวิชฺชาทิ ปจฺจโย เอเตสนฺติ อิทปจฺจ โยอิทปฺปจฺจ โยวา. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่อเป็นบทปลง ลบ นิคคหิตโมคฯ สมาสภัณฑ์ ๕๕.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1717 sec)