Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 1501-1550
  1. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  2. กิฏฐาท : ค. ผู้บริโภคข้าว, (สัตว์) ที่กินข้าวกล้าเป็นอาหาร
  3. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  4. กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
  5. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  6. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  7. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  8. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  9. กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
  10. กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
  11. กิเลสกาม : (ปุ.) กิเลสอันสัตว์พึงใคร่, กิเลสที่ สัตว์พึงใคร่, กิเลสให้สัตว์ใคร่, กิเลสเป็น เหตุใคร่.
  12. กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
  13. กิเลสมาร : (ปุ.) มารคือกิเลส, กิเลสมาร. กิเลสมาร เป็นมารที่ ๒ ในมาร ๕ และ เป็นมารที่สำคัญที่สุด.
  14. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  15. กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
  16. กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
  17. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  18. กึการณา, กิงฺการณา : ปัญ. เพราะเหตุอะไร, เพราะอะไรเป็นเหตุ
  19. กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
  20. กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
  21. กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี  ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
  22. กึสีล : ค. ผู้มีอะไรเป็นปกติ, ผู้มีอุปนิสัยอย่างไร
  23. กึสุอธิปติ : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่งแห่งอะไรสิ.
  24. กุกฺกุฏณฺฑ : (นปุ.) ไข่ไก่. กุกฺกุฏ+อณฑ. ไข่ ของสัตว์อื่นดด นักศึกษาพึงประกอบศัพท์ โดยเอาศัพท์นี้เป็นอุ.
  25. กุกฺกุธ : (ปุ.) กระท่อมหมู. เพี้ยนเป็น กระทุ่ม หมู หรือ กระทุ่มขี้หมู บ้าง เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง, ไม้กุ่ม.
  26. กุฏฐี : ป. คนเป็นโรคเรื้อน, คนขี้เรื้อน
  27. กุฏนินฺน : (นปุ.) เนระพูสี ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา ต้นเป็นกอคล้ายผักกูด ก้านสีแดงคล้ำ.
  28. กุฏิลภาว : ป. ความเป็นคนโกง, ความเป็นผู้มีนิสัยโกง
  29. กุณฺฐ : ค., ป. เป็นง่อย, โค้ง, คดงอ; เกียจคร้าน, ไม่คม; คนเป็นง่อย
  30. กุณฺเฐติ : ก. ทำให้งอ, ทำให้คด, ทำให้เป็นง่อย
  31. กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
  32. กุณฺฑลเกส : ค. มีผมเป็นลอน, มีผมหยักเป็นคลื่น, มีผมดัด
  33. กุณฺฑลาวตฺต : ค. ซึ่งวนเป็นวงกลม (เหมือนลานนาฬิกา)
  34. กุมฺภกณฺณ : (ปุ.) กุมภกรรณ ชื่อยักษ์มีหูใหญ่ใส่ หม้อได้ เป็นน้องของทศกัณฐ์.
  35. กุมฺภตฺเถนก : ค. ผู้ลักด้วยหม้อ, ผู้ขโมยของโดยใช้หม้อเป็นเครื่องมือ (คือใช้ไฟจุดใต้หม้อ)
  36. กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
  37. กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
  38. กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
  39. กุลทูสก : (ปุ.) กุลทูสกะ เป็นคำเรียกภิกษุ ผู้ประจบคฤหัสถ์ด้วยอาการที่ผิดพระวินัย, ภิกษุประทุษร้ายตระกูล.
  40. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  41. กุลสนฺตก : นป. อันเป็นของมีอยู่แห่งตระกูล; สมบัติของตระกูล, สมบัติประจำตระกูล
  42. กุลิก : ค. เป็นไปกับด้วยตระกูล, ซึ่งเนื่องด้วยตระกูล, อันเป็นของตระกูล
  43. กุเวรานุจร : (ปุ.) อมนุษย์ผู้เป็นบริวารของ ท้าวกุเวร.
  44. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  45. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  46. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  47. กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
  48. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  49. กุสลตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ความชำนาญ
  50. กุสลธมฺม : ป. กุศลธรรม, ธรรมที่เป็นกุศล, ธรรมฝ่ายดี
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | [1501-1550] | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1114 sec)