Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 151-200
  1. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  2. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  3. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  4. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  5. กึกิณิ กึกิณี : (อิต.) พรวน, ลูกพรวน, ดุม, ลูกดุม. วิ. กึ กุจฺฉิตํ กณตีติ กึกิณิ กึกิณี วา. กณฺ สทฺเท, อิ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ, นิคฺคหิ- ตาคโม. เป็น กึกณิ บ้าง. ส. กึกณิ.
  6. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  7. กุกุม กุงฺกุม : (นปุ.) บัวบก, ดอกบัวบก, หญ้าฝรั่น, จันทน์แดง. วิ. กามียตีติ กุกุมํ กุงฺกุมํ วา. กมฺ อิจฺฉากนฺตีสุ, อุโม. แปลง กมฺ เป็น กํก. อถวา, กุกฺ อาทาเน, อุโม, นิคฺคหิตาคโม. ส. กุงฺกุม.
  8. กุจ : (ปุ.) นม (นมของหญิง) วิ. คจฺฉนฺเต กาเล กุจตีติ กุโจ. กุจฺ สงฺโกจเน, อ. เป็น นปุ. ก็มี. ส. กุจ.
  9. กุจฺฉ : (นปุ.) บัวขาว. กุสฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ.
  10. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  11. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  12. กุญฺช : (ปุ.) ดาง. อภิฯ เป็น ปุ. รูปฯ ๓๘๕ เป็น อิต.
  13. กุญฺชา : (อิต.) ดาง. อภิฯ เป็น ปุ. รูปฯ ๓๘๕ เป็น อิต.
  14. กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
  15. กุฏิ : (อิต.) เรือน, เรือนพระ, ที่อยู่ของพระ, กระท่อม, กระฏิ, กุฏิ, กุฏี. วิ. กุฏตีติ กุฏิ. กุฏฺ เฉทเน, อิ. เป็น กุฏี บ้าง. ส. กุฏิ.
  16. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  17. กุฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ (นา สวน เป็นต้น) กุฏมฺ วตฺตเน, โพ, อสฺส (แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ).
  18. กุฐารี กุฏฺฐ ารี : (อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับ ถากไม้ชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายขวาน วิ. กุจฺฉิตา ธารา ยสฺสาติ กุฐารี กุฏฺฐารี. แปลง ธ เป็น ฐ. ฏฺฐ. เป็น กุธารี โดยไม่แปลงบ้าง ขวาน ก็แปล.
  19. กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
  20. กุณป กุนป : (ปุ. นปุ.) ศพ, ซากศพ. กุณฺ สงฺโกจเน, โป, ออาคโม. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. ส. กุณป.
  21. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  22. กุตฺติ : (อิต.) การทำ. กรฺ+ติ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ รูปฯ ๖๔๕.
  23. กุตฺติม : (วิ.) เกิดด้วยการทำ วิ. กรเณน นิพฺพตฺตํ กุตฺติมํ. กรณ+ตฺติม ปัจ. แปลง กรณ เป็น กุ รูปฯ ๖๔๕.
  24. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  25. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  26. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  27. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น
  28. กุมฺภถูณ กมฺภถูน : (ปุ. นปุ.) เถิดเทิง (กลองยาว) กุมฺโภ จ โส ถูโณ จาติ กุมฺภถูโณ. อถวา, กุมฺภสณฺฐานตฺตา กุมฺโภ จ ถูณนคเร สมฺภูตตฺตา ถูณญฺจาติ กุมฺภูณํ. ฎีกาอภิฯ เป็น กุมฺภถุณ ตั้ง ถุ อภิตฺถเว, โณ. ไม่ลบ ณ ปัจ. หรือ ถุณฺ ปูรเณ, อ.
  29. กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
  30. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  31. กุลตฺถ : (ปุ.) พืชที่ตั้งอยู่ในการพัน, พืชที่เลื้อย- พัน, ถั่วพู. กุล+ถ ซ้อน ตฺ ถ มาจาก ฐา ธาตุ แปลง ฐ เป็น ถ.
  32. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  33. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  34. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  35. กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
  36. เกกร : (ปุ.) คนตาเหล่, คนตาหลิ่ว, คนตาส่อน. วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ เกกโร. กุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, อุสฺเส (แปลง อุ แห่ง กุ เป็น เอ). สฺ เกกร.
  37. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  38. เกฏุ : (ปุ.) ธง. เกตุ ศัพท์แปลง ตุ เป็น ฏ.
  39. เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทาฬนํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาฬน ลบ น แปลง ฬ เป็นเป็น อลุตตสมาส.
  40. เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  41. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  42. โกญฺจวาทิก : (ปุ.) นกกระเรียน, ไตร. ๒๘/ ๑๑๕๕. เป็น กุญฺชวาทิต กุญฺชวาทิก บ้าง.
  43. โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  44. โกฏิสิมฺพลี : (ปุ.) ไม้งิ้วป่า. เป็น กสิมฺพล บ้าง.
  45. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  46. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  47. โกทุมฺพร : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้. กุช+ตจ+ชาต+ อมฺพร. ลบ ตจ ชาต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ช เป็น ท อ เป็น อุ.
  48. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  49. โกมุติ : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. แปลง ที เป็น ตี.
  50. โกลฏฺฐิปกฺขิ : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. โกลฏฺฐิ อชฺฌาหารโก ปกฺขิ โกลฏฺฐิปกฺขิ. เป็น โกลฏฺฐิปกฺขี บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1363 sec)