Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 1751-1800
  1. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  2. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  3. จาฏิกปาล : นป. แผ่นกระเบื้อง, หม้อ, จานกระเบื้อง (ใช้เป็นโล่), โล่กระเบื้อง
  4. จาฏุ : (วิ.) เป็นที่พอใจ วิ. จาเฏฺติ อมนุญฺญ- ภาวฺนฺติ จาฏุ. จฏฺ เภทเน, ณุ.
  5. จาตุทฺทสิก : ค. ซึ่งเป็นไปในวันจาตุททสี, เกี่ยวกับวันจาตุททสี
  6. จาตุทฺทิส : ค. มีในทิศทั้งสี่, ซึ่งเป็นไปในทิศทั้งสี่; ผู้มาแต่ทิศทั้งสี่
  7. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  8. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  9. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  10. จาป : (ปุ.) หน้าไม้, ศร, ธนู, แล่ง, แล่งธนู. แล่ง คือที่เป็นที่เก็บลูกธนูหรือรังกระสุน หรือที่เก็บลูกกระสุนดินดำ. จปฺ หนเน สนฺตาเป จ, โณ.
  11. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  12. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  13. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  14. จาริตฺตสีล : นป. จาริตตศีล, ศีลที่ประพฤติเป็นอาจิณ
  15. จารุทสฺสน : ค. ซึ่งดูเป็นที่พอใจ, น่าดู, น่ารัก, มีเสน่ห์
  16. จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป
  17. จิกฺขลฺล : (วิ.) เป็นตม, ลื่น.
  18. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  19. จิตฺตกถ, - กถิก, - กถี : ค. ผู้กล่าวถ้อยคำอันวิจิตร, ผู้กล่าวถ้อยคำไพเราะ, ผู้เป็นนักพูดที่ฉลาด, ผู้มีวาทศิลป์, ผู้เป็นนักเทศน์
  20. จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
  21. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  22. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  23. จิตฺตรุจิต : ค. ซึ่งจิตชอบ, ซึ่งเป็นที่พอใจ
  24. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  25. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  26. จิตฺตเหตุก : ค. มีจิตเป็นเหตุ
  27. จิตฺตาธิปติ : ป. จิตตาธิบดี, ธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต, ความเป็นใหญ่แห่งจิต
  28. จิตฺตาธิปเตยฺย : ค. มีธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต
  29. จิตฺตุชฺชุกตา : อิต. ความซื่อตรงแห่งจิต, ความเป็นผู้มีจิตซื่อตรง
  30. จิตฺเตกคฺค : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง, จิตมี อารมณ์เดียว วิ. จิตฺตํ เอกคฺคํ จิตฺเตกคฺคํ วิเสสนุต. กัม.
  31. จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  32. จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
  33. จิตฺรก : (ปุ.) เสือดาว (มีลายเป็นจุดๆ).
  34. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  35. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  36. จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
  37. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  38. จิรปฏิก : ป. กาลนาน (มีใช้เฉพาะในรูปปัญจมีวิภัติติเป็น จิรปฏิกา = ตั้งแต่กาลนานมาแล้ว)
  39. จีร : (นปุ.) การเขียน, การตกแต่ง, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าปิดของลับ, ตะเข็บผ้า, ขนสร้อย ( ขนที่คอสัตว์เป็นพวงงาม?) พวงมาลัย, ตะกั่ว.
  40. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  41. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  42. จีวรนิทาหก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่เก็บจีวร
  43. จีวรปฏิคฺคาหก : (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร
  44. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  45. จีวรภาชก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่แจกจีวร, ผู้แบ่งจีวร
  46. จีวรภิสี : อิต. หมอนที่ทำด้วยจีวร, จีวรที่ใช้เป็นหมอนหนุน
  47. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  48. จุณฺณกชาต : ค. ซึ่งเป็นผงละเอียด
  49. จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
  50. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | [1751-1800] | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1169 sec)