Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 201-250
  1. โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
  2. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  3. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  4. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  5. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  6. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  7. ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
  8. ขตฺต : (ปุ.) กษัตริย์(ผู้ป้องกันประเทศ,นักรบ). ขฏฺฏฺ สํวรเณ, อ. แปลง ฏฺฏฺ เป็น ตฺต.
  9. ขตฺติมหาสาล : (ปุ.) กษัตริย์ผู้มหาศาล วิ. มหนฺโต ธนสาโร เยสํ เต มหาสาลา. แปลง ร เป็น ล. ขตฺติโย จ โส มหาสาโล จาติ ขตฺติยมหาสาโล.
  10. ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
  11. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  12. ขนฺตุ : (วิ.) ผู้ทน, ฯลฯ. ตุ ปัจ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือแปลง มฺ เป็น นฺ.
  13. ขนฺธก : (ปุ.) ต้น, ลำต้น. ขาทฺ ภกฺขเณ, โก. แปลง ขาทฺ เป็น ขนฺธ ไม่ลบ ก ปัจ. รูปฯ ๖๕๘.
  14. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  15. ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  16. ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
  17. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  18. ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
  19. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  20. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  21. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  22. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  23. เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
  24. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  25. คคน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไปแห่งนก, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า. วิ. คจฺฉานฺเตตฺถ วิหงฺคมาทโยติ คคนํ. คมฺ คติยํ, ยุ, มสฺส โค. เมฆ พระอาทิตย์? เป็น คคณ บ้าง.
  26. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  27. คจฺฉ : (ปุ.) กอ, กอไม้, กอผัก, ต้นไม้, คมฺ คติยํ, โณ. แปลง คม เป็น คจฺฉ อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ แปลง ม เป็น จฺฉ.
  28. คณฺฑ : (ปุ.) แก้ม. คณฺฑฺ วทเนกเทเส, อ. คมฺ คติยํ วา, โฑ. วิ. คจฺฉติ สุนภาวนฺติ คณฺ โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ.
  29. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  30. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  31. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  32. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  33. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  34. คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  35. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  36. คพฺโภจน : (นปุ.) การคลอดบุตร, การคลอดลูก. คพฺภ+มุจน ลบ ม แปลง อุ เป็น โอ.
  37. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  38. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  39. คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
  40. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  41. คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
  42. คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
  43. คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
  44. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  45. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  46. คาวี : (อิต.) นางโค, แม่โค, แม่โคสามัญ. วิ. คจฺฉตีติ คาวี. คมฺ คติยํ, อี. อภิฯ น. ๔๐๓. ถ้าตั้ง โค ศัพท์แปลง โอ เป็น อาว อี, อิต.
  47. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น
  48. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  49. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  50. คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1235 sec)