Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 3101-3150
  1. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  2. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  3. สมฺมุขีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีหน้าพร้อมเป็นแล้ว, เป็นผู้พร้อมหน้าเป็นแล้ว.
  4. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  5. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  6. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  7. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  8. สมวาย : (วิ.) ประชุม, รวม, รวบรวม, เป็นหมู่, เป็นกลุ่ม.
  9. สมสีส : (นปุ.) สมธรรมและศีลธรรม, ธรรมสงบและธรรมเป็นประธาน. ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๑๕.
  10. สมาคม : (ปุ.) การมารวม, การมารวมกัน, การมาร่วม, การมาพร้อมกัน, การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, สมาคม. สํ อาปุพฺโพ. คมฺ คติยํ. อ. ส. สมาคม.
  11. สมาช : (นปุ.) การประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, ที่ประชุม, สมาคม. สํ อา ปุพฺโพ, อชฺ คติยํ, อ. ส. สมาช.
  12. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  13. สมาน : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, อันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นอันเดียวกัน, เสมอกัน, เท่ากัน. สมฺ เวลมฺเพ, ยุ. ส. สมาน.
  14. สมานคติ : (อิต.) การไปเช่นกัน, การเป็นไปเช่นกัน, ฯลฯ.
  15. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  16. สมายิก : ค. เป็นไปตามสมัย, ชั่วคราว
  17. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  18. สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
  19. สมุทาคมน : (นปุ.) ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, ความมีอยู่. สํ+อุ+อาคมน ทฺ อาคม.
  20. สโมสรณฏฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาประชุมกัน.
  21. สย : (อัพ. นิบาต) เอง, ด้วยตนเอง, โดยตนเอง, อันตนเอง. ใช้เป็นประธานก็มี แปลว่า อ. ตนเอง ที่เป็นราชาศัพท์ แปลว่า อ. พระองค์ หรือ อ. พระองค์เอง.
  22. สยน : (นปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สยนํ. ที่เป็นที่นอน, ที่นอน. วิ. สยนฺตฺยตฺรติ สยนํ. ยุ ปัจ. การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. สิ คติยํ ปวตฺตเน วา.
  23. สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
  24. สยมฺภู : (ปุ.) พระผู้เป็นเอง ( เป็นด้วยพระองค์เอง), พระสยัมภู พระสยมภู (สะหยมภู) พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. สยํ อภวีติ สยมฺภู. อภิฯ. สย เมว สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวตีติสยมฺภู. ฎีกาอภิฯ สยํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
  25. สยมฺภูต : (วิ.) เป็นเองแล้ว, ตรัสรู้เองแล้ว, ตรัสรู้แล้วด้วยพระองค์เอง.
  26. สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
  27. สรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่ง, การถึงสรณะ, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่ง, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ, สรณคมน์ คือการรับเอาพระรัตนตรัยได้แก่พระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นการปฏิญญาณตนว่าเป็นอุบาสก อุบาสิกานับถือพระพุทธศาสนา.
  28. สรณงฺคต : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ วิ. สรณํ คจฺฉติ คจฺฉิ คจฺฉิสฺสตีติ วา สรณงฺคโต. ตปัจ. ลงในภาวะ, กัจฯ ๕๕๗.
  29. สรณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความระลึก, กิริยาที่ระลึก.
  30. สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
  31. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  32. สรส : ค. มีรส, เป็นไปกับด้วยรส
  33. สรายน : (นปุ.) วัตถุเป็นที่ไปของลูกศร, ธนูศร.
  34. สลขาริก สสงฺขาริก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสังขาร.
  35. สลฺยาณ สลฺลาณ : (ปุ. นปุ.) การไป, การเป็นไป, ความเป็นไป. สลฺ คติยํ, ยาโณ, ลาโณ วา. กัจฯ ๖๓๓ รูปฯ ๖๔๑.
  36. สลากหตฺถ : (ปุ.) การเล่นฟาดให้เป็นรูปต่างๆ, การฟาดให้เป็นรูปต่าง ๆ.
  37. สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
  38. สวตฺตติ : ก. เป็นไปอยู่
  39. สวตฺตนิก : ค. มีความเกี่ยวข้องด้วย, มีความเป็นไปด้วย
  40. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  41. สฺวากฺขาต : (วิ.) (พระธรรม, พระธรรมวินัย) อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว. ศัพท์นี้ เคยใช้เป็น สฺวาขาต. บ้าง สฺวากฺขาต บ้าง ปัจจุบันนี้ยุติเป็น สฺวากฺขาต. สุ+อกฺขาต.
  42. สวิญฺญาณก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยวิญาณ, มีวิญญาณ, มีใจ, มีใจครอง.
  43. สวิส : (วิ.) เป็นไปด้วยยาพิษ ซาบด้วยยาพิษ.
  44. สสต : (วิ.) เป็นไปติดต่อ.
  45. สสทฺธ : (วิ.) เป็นไปด้วยสัทธา, มีศรัทธา.
  46. สสน : (นปุ.) การเป็นอยู่, การมีชีพอยู่. สสฺ ปาณเน, ยุ. การเบียดเบียน, การฆ่า, การฆ่าฟัน. สสฺ หึสายํ, ยุ.
  47. สห : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความยินดี, เป็นไปกับด้วยความร่าเริง.
  48. สหกร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยมือ
  49. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  50. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | [3101-3150] | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1204 sec)