Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 3151-3200
  1. สหพฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ความเป็นพวก.
  2. สหภู : ค. ซึ่งเป็นอยู่ร่วมกัน
  3. สหวฺย : ค. เป็นเพื่อนกัน
  4. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  5. สหายตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ประชุมแห่งสหาย. ตา ปัจ. ภาวตัทและสมุหตัท. ความเป็นสหาย, คุณชาติ เครื่องเป็นสหาย.
  6. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  7. สหายิกา : (อิต.) หญิงผู้เป็นเพื่อน, เพื่อนหญิง.
  8. สหิต : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์เกื้อกูล. สห+หิต.
  9. สากุณิก : (ปุ.) บุคคลผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่, พรานนก. วิ. สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากุณิโก. ณิก ปัจ.
  10. สาขานคร : (นปุ.) เมืองเป็นสาขา, สาขานคร คือ ดินแดนที่แยกออกเป็นส่วนหนึ่ง.
  11. สาคร : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ไปแห่งน้ำทั้งหลายโดยรอบ, แม่น้ำ, ทะเล. วิ. สคเรหิ ราชกุมาเรหิ นิพฺพตฺโตติ สาคโร. สานํ ธนานํ อากโรติ วา สาคโร. กสฺส โค. สงฺคํ สํสีทนํ ราตีติ วา สาคโร. สงฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อุ. งฺโลโป, ทีโฆ จ. ศ. สาคร.
  12. สาณ : (ปุ.) หินฝนทอง. วิ. สายติ อาวุเธ เอเตนาติ สาโณ. สา ตนุกรเณ, ยุ. เป็นสวน บ้าง.
  13. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  14. สาตรูป : (นปุ.) รูปอันน่ายินดี, รูปเป็นที่พึงใจ, ฯลฯ.
  15. สาตุถ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอรรถ, พร้อมด้วยอรรถ, มีอรรถ, เป็นไปกับด้วยประโยชน์, ฯลฯ.
  16. สาทร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความเคารพ, เป็นไปกับด้วยความเอื้อเฟื้อ, เป็นไปกับด้วยความเอาใจใส่.
  17. สาธก : (วิ.) ให้สำเร็จ, อัน...ให้สำเร็จ. สาธฺ สํสิทฺธิยํ, อ. ก สกัด. สาธก ไทยใช้เป็นกิริยาว่ายกตัวอย่างมาให้เห็น.
  18. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  19. สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
  20. สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
  21. สาธุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ความดี, ความใคร่ความดี.
  22. สาธุกิฬน : นป. การเล่นเป็นบุญกุศล, การฉลองพิธีอันศักดิ์สิทธิ์
  23. สาธุชน : (ปุ.) คนดี, คนที่เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  24. สาปเตยฺย : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์(ทรัพย์มรดก), ทรัพย์, สมบัติ. วิ. สสฺส ธนสฺส ปติ สปติ, ตสฺมึ สาธูติ สาปเตยฺยํ. สปติสฺส วา หิตํ สาปเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
  25. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  26. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  27. สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
  28. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  29. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  30. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  31. สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
  32. สามฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งของคล้ายกัน, ความเป็นแห่งของเสมอกัน, ความเป็นแห่งของเท่ากัน, ความเป็นแห่งของควร. สม+ณิย ภาวตัท. ความเสมอกัน, ความเท่ากัน,, ความควร. ณฺย ปัจ. สกัด.
  33. สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
  34. สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ
  35. สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  36. สามี : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
  37. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  38. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  39. สารมฺภกถา : (อิต.) ถ้อยคำอันเป็นไปกับความเริ่มแรก.
  40. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  41. สาราณิย : (วิ.) อัน...พึงระลึก, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก.
  42. สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
  43. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  44. สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  45. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  46. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  47. สาสนูปถมฺถก : (วิ.) ผู้บำรุงพระศาสนา, ผู้ทะนุบำรุงพระศาสนา, ศาสนูปถัมภก เป็นคุณบทของพระมหากษัตริย์.
  48. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  49. สาหสิก : (วิ.) เป็นไปพลัน, ฯลฯ. ส. สาหสิก.
  50. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | [3151-3200] | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1504 sec)