Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 3251-3300
  1. สุราทิโลภ : (ปุ.) ความโลภในเพราะวัตถุมีสุราเป็นเหตุ.
  2. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  3. สุริยุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์, เวลาเช้า, เวลาได้อรุณ.
  4. สุรูปตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีรูปดี, ความเป็นผู้มีรูปได้สัดส่วน, ความเป็นผู้มีรูปร่างสมส่วน.
  5. สุวณฺณลงฺการ : (วิ.) ผู้มีเครื่องประดับอันบุคคลทำแล้วด้วยทอง, ผู้มีเครื่องประดับเป็นวิการแห่งทอง. ฉ. พหุพ.
  6. สุสฺสรตา : อิต. ความเป็นผู้มีเสียงเพราะ
  7. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  8. เสนากูฎ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นยอดแห่งกองทัพ, แม่ทัพ, จอมพล.
  9. เสนาปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่, เสนาบดี ชื่อตำแหน่ง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้าของกระทรวง ปัจจุบันเรียกว่ารัฐมนตรี. ส. เสนาปติ.
  10. เสนาพยุห : (ปุ.) กระบวนแห่งกองทัพ, กระบวนทัพ, ขบวนทัพ (การจัดกองทัพ ออกเป็นหมวด ๆ).
  11. เสนาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนและที่เป็นที่นั่ง, ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, เสนาสน์.
  12. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  13. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  14. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  15. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  16. โสคต : (วิ.) มีพระสุคตเป็นเทวดา วิ. สุคโต อสฺส เทวตาติ โสคโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  17. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  18. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  19. โสตาปตฺติยงฺค : (วิ.) อันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน.
  20. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  21. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  22. โสภิณี : (อิต.) หญิงงาม. ไทย โสภิณี โสเภณี ใช้ในความว่า หญิงงามเมือง คือหญิงที่หากินในทางประเวณี เป็นศัพท์ที่ตัดมาจากคำ นครโสภิณี.
  23. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  24. โสมปม : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอุปมา.
  25. โสมฺม : (วิ.) เป็นที่พอใจ, เป็นที่พึงใจ. ส. โสมฺม.
  26. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  27. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  28. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  29. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  30. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  31. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  32. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  33. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  34. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  35. หตวกาส : (วิ.) มีปัจจัยเป็นเครื่องตั้งลงอันขจัดแล้ว, หมดโอกาส, หมดหนทาง, หมดช่องทาง.
  36. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  37. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  38. หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
  39. หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
  40. หานภาคิย : ค. เป็นไปในส่วนที่เสื่อม
  41. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  42. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  43. หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  44. หิงฺคุ หิงฺคุชตุ : (นปุ.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  45. หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.
  46. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  47. หิมวาส หิมเวส : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ที่อยู่อันหนาว, ที่อยู่แห่งหิมะ, ภูเขาหิมพานต์, ป่าหิมพานต์.
  48. หิมาลย : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ป่าหิมพานต์, หิมาลัย, ภูเขาหิมาลัย.
  49. หิริโกปินปฎิจฺฉาทน : (นปุ.) ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเฉพาะซึ่งอวัยวะอันยังหิริให้กำเริบ, ผ้าปิดของลับ.
  50. หึสาสีล : (วิ.) ผู้มีความเบียดเบียนเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. หึสา สีลํ อสฺส อตฺถีติ หึสาสีโล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | [3251-3300] | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1190 sec)