Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 3901-3950
  1. อาโปกสิณ : นป. การเพ่งกสิณมีน้ำเป็นอารมณ์
  2. อาโปธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุน้ำ.เมื่อลบวิภัติแล้วเอาอเป็นโอ.รูปฯ ๔๘.
  3. อาภสฺสร : (วิ.) เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีซ่านออกจากกาย, สว่าง, สุกใส, เปล่งปลั่ง.
  4. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  5. อายต : (วิ.) กว้าง, กว้างขวาง, ยาว, ยืด, แผ่ออกไป.อาปุพฺโพ, ยตฺอายเต, อ.อิคมเนวา.โต.แปลงอิเป็นเอ เอ เป็นอย ทีฆะ.ส.อายต.
  6. อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
  7. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  8. อายติ : (อิต.) อันไป, การไป, เวลาต่อไป, ความเป็นของยาว, ความเป็นของยืดยาว, เดชอันเกิดแต่อาชญา, เดชอันเกิดจากมีอำ-นาจลงอาชญา.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ติ.ส.อายติ.
  9. อายติก : ค. อันเป็นอนาคต
  10. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  11. อายส : (วิ.) เป็นวิการแห่งเหล็กวิ. อยโส วิกาโรอายโส.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาคมรูปฯ ๓๖๒.
  12. อายาจนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องขอโดยยิ่ง, ฯลฯ, การเชื้อเชิญ, ฯลฯ, การเซ่นสรวง.
  13. อายาเปติ : ก. ให้ดำเนินไป, ให้เป็นไป
  14. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  15. อายุตฺต : (ปุ.) เสมียน( เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ ).อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โต.แปลงต เป็นตฺตลบชฺ.
  16. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  17. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  18. อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  19. อาโยธน : (นปุ.) ที่เป็นที่มารบ, การรบกัน, สนามรบ, สงคราม. วิ. อาทายยุชฺฌนฺเตตฺรา-ติอาโยธานํ.อาปุพฺโพ, ยุธฺสมฺปหาเร, ยุ.ส.อาโยธน.
  20. อารกตฺต : นป. ความไกล, ความห่างไกล, ความเป็นผู้ไกลจากกิเลส
  21. อารกตาอารกตฺตา : (อิต.) ความที่แห่ง....เป็นผู้ไกล, ความที่แห่ง....เป็นของไกล.
  22. อารญฺชิต : ๑. นป. แผลเป็น, รอยตำหนิ, รอยขีด; ๒. กิต. ถูกแทงแล้ว, ถูกเจาะแล้ว
  23. อารญฺญกงฺค : นป. การสมาทานธุดงค์ คือการอยู่ป่าเป็นวัตร, องค์ของภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  24. อารญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร, การถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  25. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  26. อารมฺภกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวเริ่มต้น, คำกล่าวเริ่มต้น, คำเริ่มต้น, คำปรารภ, คำนำ.ส.อารมฺภกถา.
  27. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  28. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  29. อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
  30. อาราม : (ปุ.) อารมณ์เป็นที่มายินดี, ประเทศเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่รื่นรมย์, อุทยาน, สวน, อาราม, วัด.วิ. อาค-นฺตฺวารมนฺติเอตฺถาติอาราโม.อาปุพฺโพ, รมุรมเณ, โณ.ส.อาราม.
  31. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  32. อารามิกอารามิกชน : (ปุ.) คนอยู่ในวัด, คนอา-ศัยวัดเป็นอยู่, คนอาศัยวัด, คนงานประจำวัด, คนวัด, อารามิกชน.
  33. อาริสฺส : ป. ความเป็นฤษี, ความเป็นนักบวช
  34. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  35. อารุปฺป : (นปุ.) อรูปฌาน. น+รูป+ณฺย ปัจ. แปลงนเป็นอทีฆะเป็นอารัสสะอูเป็นอุแปลงปฺยเป็นปฺป.
  36. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  37. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  38. อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
  39. อาลย : (วิ.) พัวพัน, ห่วงใย, ลวงอุ.ปพฺพชิตาลยลวงว่าเป็นบรรพชิต.ส. อาลย.
  40. อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
  41. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  42. อาลุมฺปการ : ค. ปั้นเป็นคำ, แบ่งเป็นคำ
  43. อาโลกกสิณ : (นปุ.) การเพ่งแสงสว่าง, อาโลกกสิณ (การบริกรรมโดยการเพ่ง แสงสว่างเป็นอารมณ์).
  44. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  45. อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
  46. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  47. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  48. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  49. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  50. อาเวณิก, - ณิย : ค. พิเศษ, เฉพาะ, คนละส่วน, เป็นอิสระ, เป็นแผนกๆ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | [3901-3950] | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1411 sec)