Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 4101-4150
  1. เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.
  2. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  3. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  4. เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
  5. เอกชฺฌ : (วิ.) อันเดียว, อันเดียวกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ทำโดย ส่วนเดียว.
  6. เอกชฺฌ : (อัพ. นิบาต) อันเดียวกัน, รวมเข้า, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ประการเดียวกัน, ประการเดียว, โดยส่วน เดียว, โดยส่วนเดียวกัน. รูปฯ ว่าเป็น สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  7. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  8. เอกตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งธรรมหมวด เดียว, ความเป็นแห่งธรรมหมวดเดียวกัน, ความเป็นธรรมหมวดเดียวกัน.
  9. เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
  10. เอกนฺตโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชาย ข้างเดียว วิ. เอกสฺมึ อนฺเต ปริยนฺเต โลมํ ทสา อสฺสตฺถีติ เอกนฺตโลมี. อี ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. รัสสะเป็น เอกนฺตโลมิ บ้าง.
  11. เอกนิโรธ : (วิ.) ดับเป็นหนึ่ง, ดับพร้อมกัน.
  12. เอกพิชี : (ปุ.) เอกพิชี ชื่อของพระโสดาบัน ๑ ใน ๓ ชื่อ, พระโสดาบันผู้มีพืชคือภพเดียว คือเกิดอีกครั้งเดียว ก็ได้สำเร็จเป็นพระ อรหันต์ และนิพพานในภพนั้น.
  13. เอกมน : ค. ผู้มีใจเป็นอันเดียวกัน
  14. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  15. เอกโยชนทฺวิโยชนมตฺต : (วิ.) มีโยชน์หนึ่ง หรือ โยชน์สองเป็นประมาณ, มีโยชน์หนึ่ง และโยชน์สองเป็นประมาณ.
  16. เอกรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาแต่พระองค์เดียว
  17. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  18. เอกวตฺถุก : (วิ.) มีวัตถุอันเดียวกัน, มีวัตถุ เป็นอันเดียวกัน, มีวัตถุเดียวกัน, ฯลฯ.
  19. เอกวีร : ป. นายพลทหาร, ผู้แกล้วกล้าเป็นที่หนึ่ง
  20. เอกสิกตา : อิต. ความเป็นอันใดอันหนึ่ง, ความแน่นอน
  21. เอกายน : (วิ.) อันเป็นไปที่ไปอันเยี่ยม, อันเป็น เครื่องดำเนินอันเยี่ยม, อันเป็นที่ไปอันยอด เยี่ยม, อันเป็นที่ไปอันประเสริฐ. ส. เอกายน ตั้งใจจริง มีใจเพ่งเฉพาะ.
  22. เอกายน เอกายนมคฺค : (ปุ.) ทางเป็นที่ไปสู่ คุณอันเอก, ทางเป็นที่ไปอันเอก, ทางสาย เอก, หนทางเอก, มรรคคือหนทางอันเอก, เอกายนมรรค คือ ทางสายเอก ได้แก่ อริยมรรค มีองค์ ๘.
  23. เอการมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์อันเดียวกัน, มี อารมณ์เป็นอันเดียวกัน.
  24. เอกาสนิก : (วิ.) ผู้มีการบริโภคบนอาสนะ เดียวเป็นปกติ. วิ. เอกาสเน โภชนํ สีลํ อสฺสาติ เอกาสนิโก. ผู้มีปกติบริโภคอาหารบน อาสนะเดียว ผู้บริโภคอาหารบนอาสนะเดียว เป็นวัตร วิ. เอกาสเน โภชน สีโล เอกาสโน. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  25. เอกาสี : (ปุ.) บุคคลผู้บริโภคผู้เดียว, คนมีปกติ บริโภคผู้เดียว, คนบริโภคผู้เดียวเป็นปกติ, คนกินคนเดียว. เอก+อส+ณีปัจ.
  26. เอกีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เดียว, ความเป็นคนผู้เดียว, ความเป็นผู้ผู้เดียว.
  27. เอกีภูต : ค. เป็นอันเดียวกัน, อันเนื่องกัน
  28. เอโกทิภาว : ป. ความแน่วแน่, ความเป็นสมาธิ
  29. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  30. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  31. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  32. เอวภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างนี้, บังเกิดแล้ว อย่างนี้, ฯลฯ, มีอย่างนี้เป็นแล้ว, ฯลฯ.
  33. เอวรูป : (นปุ.) กรรมมีอย่างนี้เป็นรูป.
  34. เอวรูป เอวรูป : (วิ.) มีอย่างนี้เป็นรูป, มีรูป อย่างนี้, มีรูปเช่นนี้, มีรูปเห็นปานนี้. วิ. เอวํ รูปํ ยสฺส โส เอวรูโป เอวํรูโป วา. ศัพท์ต้น ลบนิคคหิต.
  35. เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
  36. เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
  37. เอหิภิกฺขุภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเอหิภิกษุ.
  38. เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.
  39. เอฬคล : (ปุ.) ชุมเห็ด มีสองชนิด ชุมเห็ดไทย ใบเล็ก ชุมเห็ดเทศใบใหญ่ มีรสเบื่อเมา เป็นสมุนไพร. วิ. เอฬคํ ททฺทุ ลุนาตีติ เอฬคโล. เอฬคปุพฺโพ, ลา เฉทเน, อ.
  40. เอฬมูค : (วิ.) ทั้งหนวกทั้งใบ้, เป็นใบ้. เอฬ=พธิร มูค=อวจน.
  41. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  42. โอทกนฺติก : ๑. นป. สถานที่ใกล้น้ำ, ที่ใกล้เคียง; ๒. ค. ผู้ชำระกรรมชั่วโดยมีน้ำเป็นที่สุด, ผู้อาบน้ำล้างบาป
  43. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  44. โอนมนุนฺนมนปกติก : (วิ.) มีอันยุบลงและ อันฟูขึ้นเป็นปกติ.
  45. โอปรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาผู้รอง, ตำแหน่งอุปราช
  46. โอปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, บ่อ, สระ. ยุ ปัจ.
  47. โอปานภูต : (วิ.) เป็นดุจบ่อน้ำ, เป็นบ่อน้ำเป็นแล้ว.
  48. โอภตจุมฺพฏา : อิต. สตรีผู้มีเทริดอันบุรุษนำลงแล้วนำมาเป็นภรรยา
  49. โอรมฺภาคิย : (วิ.) อันเป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ.
  50. โอโลกนก : นป. หน้าต่าง, ที่เป็นที่แลดู
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | [4101-4150] | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.2241 sec)