Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 801-850
  1. โพชฺฌ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ. พุธฺ โพธเน, โณ, ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ พฤทธิ อุ เป็น โอ ด้วยอำนาจ ณ ปัจ.
  2. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  3. ภกมฺปิ : (นปุ.?) หวั่นไหว. ปปุพฺโพ, กปิ จลเน, อิ. แปลง ป เป็น ภ.
  4. ภคฺค : (ปุ.) ภัคคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบราณ, ภญฺช อวมทฺทเน, อ. แปลง ญฺช เป็น คฺค.
  5. ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็นเป็น ภคนฺทร บ้าง.
  6. ภคณฺฑลา ภคนฺทลา : (อิต.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็นเป็น ภคนฺทร บ้าง.
  7. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  8. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  9. ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
  10. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  11. ภณฺฑุกมฺม : (นปุ.) การโกนหัว, การปลงผม, ภัณฑกรรม คือการขออนุญาตปลงผมผู้ที่จะบวชอันภิกษุทำเอง เป็น อปโลกนกรรม.
  12. ภณน : (นปุ.) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  13. ภณ ภน : (ปุ.?) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  14. ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
  15. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  16. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  17. ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
  18. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  19. ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
  20. ภวนฺต : (วิ.) ผู้เจริญ. ถ้าเป็นวิเสสนะของนาม อิต. เป็น โภตี.
  21. ภสฺสร : (วิ.) แจ่มใส, ผ่องใส, ผุดผ่อง, รุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, สโร. รัสสะ อา เป็น อ แปลง ส เป็น สฺส.
  22. ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
  23. ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
  24. ภิงฺก : (ปุ.) ช้างรุ่น วิ. มาตาปิตูหิ ภริตพฺพตฺตา ภิงฺโก. ภรฺ โปสเน, อ. แปลง ภร เป็น ภิงฺก. แปลว่า กบ เขียด ก็มี.
  25. ภิงฺการ ภิงฺคาร : (ปุ.) คนทีน้ำ, คนโทน้ำ, เต้า (หม้อน้ำ), น้ำเต้า, เต้าน้ำ, เต้าน้ำทอง, หม้อน้ำ, ภาชนะทอง. วิ. ภรติ อุทกมิติ ภิงฺการโร. ภรฺ ภรเณ ธารเณ จ, อาโร. แปลง ภรฺ เป็น ภึก.
  26. ภิชฺชน : (นปุ.) อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย, การแตก, ฯลฯ. ภิทิ เภทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ ลบ อิ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  27. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  28. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  29. ภิสก ภิสกฺก ภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรแพทย์, หมอ. วิปฺพฺโพ, สชฺ วิสชฺชะน, อ. แปลง วิ เป็น ภิ ศัพท์ ที่ ๑ แปลง ช เป็น ก ที่ ๒ แปลง ก เป็น กฺก แปลว่า ศัลยแพทย์ ก็มี.
  30. ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
  31. ภิสีล : (วิ.) ขลาด, กลัว, ขี้ขลาด. วิ. ภี ภยํ สีโล ยสฺสโส ภิสีโล. เป็น ภีสีล โดยไม่รัสสะบ้าง.
  32. ภึส ภึสร : (นปุ.) ราก, เหง้า, รากบัว, เหง้าบัว. วิสฺ เปรเณ, อ, อโร, นิคฺคหิตาคโม. แปลง วิ เป็น ภิ.
  33. ภุจฺจ : (นปุ.) ความเป็นจริง. ภูต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ แปลง ตยฺ เป็น จฺจ.
  34. ภุชปตฺต : (ปุ.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด. วิ. ภุโช ปาณิ, ตํสทิสปตฺตตาย ภุชปตฺโต. เป็น ภูชปตฺต บ้าง.
  35. ภุชิสฺส : (ปุ.) ความเป็นอิสระ, ความเป็นไทย. ภุชฺ ปาล-เน, อิโส. แปลง ส เป็น สฺส.
  36. ภุป ภุภุช : (ปุ.) พระยา, พระเจ้าแผ่นดิน. ภู+ปา ธาตุ ภุชฺ ธาตุในความรักษา รัสสะ อู เป็น อุ.
  37. ภุวน : (นปุ.) โลก, ฯลฯ, ฐานะ. ภู สติตายํ, ยุ. แปลง อู เป็น อุว ยุ เป็น อน รูปฯ ๖๓๕. เป็น ภูวน ก็มี.
  38. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  39. ภูติณ ภูติณก ภูตินก : (นปุ.) ตะไคร้ วิ. ภูมิยํ ลคฺคํ ติณํ ภูติณกํ วา ภูตินกํ วา. สองศัพท์หลัง ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ณ เป็น น.
  40. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  41. เภริ : (นปุ.) กลอง, เภรี, ไภรี, ไภริน. วิ. ภายนฺติ สตฺต-ชนา เอเตนาติ เภริ. ภี ภเย, วิ. เป็น อิต. ก็มี.
  42. โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
  43. มกร : (ปุ.) มังกร ชื่อสัตว์ในนิยายของจีน มีรูปร่างคล้ายงู แต่มีตีนมีเขา ชื่อดาวราสีที่ ๑๐. วิ. ปาณิคฺคหเณ มุขํ กิรตีติ มกโร. มุขปพฺโพ, กิรฺ วิกิรเณ, อ. ลบ ย แปลง อุ เป็น อ อิ ที่ กิ เป็น อ. เป็น มงฺกร บ้าง.
  44. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  45. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  46. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  47. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  48. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  49. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  50. มชฺช : (วิ.) อัน...พึงเมา วิ. มชฺฌิตพฺพนฺติ มชฺชํ. มทฺ อุมฺมาเท, โณฺย. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1317 sec)