Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 851-900
  1. มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  2. มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
  3. มชฺฌณฺห : (ปุ.) ท่ามกลางแห่งวัน, เที่ยงวัน, มัธยัณห์. วิ. อหสฺส มชฺโฌ มชฺฌ-โณฺห. แปลง อห เป็น อณฺห. เป็น มชฺฌนฺต โดยแปลง อห เป็น นฺต ก็มี.
  4. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  5. มญฺชรี : (อิต.) ช่อดอกไม้, ก้านดอกไม้. วิ. มญฺชุโยคโต มญฺชรี. ร ปัจ. แปลง อุ เป็น อ อี อิต.
  6. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  7. มญฺชูสา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง, หีบ. วิ. มญฺญติ สธนตฺตํ เอตายาติ มญฺชูสา. มนฺ ญาเน, โส, ชู มชฺเฌ, อิตฺถิยํ อา. เป็น มญฺชุสา ก็มี.
  8. มญฺเชฏฺฐ : (ปุ.) แดง, สีแดง, สีแดงแก่, ฝาง, สีชมพู, หงสบาท, สีแดงฝาง, สีบานเย็น. เป็น มญฺเชฏฐก บ้าง.
  9. มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
  10. มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
  11. มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
  12. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  13. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  14. มนฺตน : (นปุ.) การปรึกษา, ฯลฯ. การกระซิบ, ความลับ, มนฺตฺ คุตฺตภสเน, ยุ. แปลง น เป็นเป็น มนฺตณ. บ้าง.
  15. มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
  16. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  17. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  18. มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
  19. มยูร : (ปุ.) นกยูง, วิ. มหิยํ รวตีติ มยูโร. มหิ+อูร ปัจ. แปลง ห เป็น ย. หรือตั้ง มยฺ คติยํ, อูโร. เป็น มยุร บ้าง.
  20. มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
  21. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  22. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  23. มสารคลฺล : (นปุ.) แก้วลาย, แก้วตาแมว, เพชรตาแมว, แก้วที่เกิดในภูเขาชื่อ มสาระ. วิ. มสารคิริมฺหึ ชาตํ มสารคลฺลํ. ล ปัจ. แปลง ริ เป็น ลิ ลบ อิ. ไตร. ๓๐ ข้อ ๗๖๒ เป็น ปุ.
  24. มหลฺลกาล มหลฺลกกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็น...แก่.
  25. มหากนฺต มหากนฺท : (ปุ.) กระเทียม. ปลณฺฑกนฺทโต มหนฺตกนฺทตาย มหากนฺโท. ศัพท์ต้น แปลง ท เป็น ต.
  26. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  27. มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
  28. มาณิกา มานิกา : (อิต.) มาณิกา มานิกา ชื่อ ภาชนะสำหรับตวง รูปเหมือนราง. ๔ โทณะ เป็น ๑ มาณิกา, มานิกา.
  29. มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
  30. มาติก : (วิ.) มาข้างมารดา วิ. มาติโต อาคตํ มาติกํ (นามํ). ณิก ปัจ. มาตุ+โต ปัจ. ให้แปลง อุ เป็น อิ.
  31. มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
  32. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  33. มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
  34. มาทิกฺข มาทิส มาที มาริกฺข มาริส : (วิ.) ผู้เช่นกับด้วยเรา, ผู้เช่นเรา. วิ. มมิว นํ ปสฺสตีติ มาทิกฺโข. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ วา มาทิกฺโข. อมฺห บทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. แปลง อมฺห เป็น ม ทีฆะ รูปฯ ๕๗๒.
  35. มาย : (ปุ.) บุคคลผู้นับ, การนับ. มา ปริมาเณ, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  36. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  37. มาลูร : (ปุ.) มะตูม. มลฺ ธารเณ, อูโร. เป็น มาลุร ก็มี.
  38. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  39. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  40. มิคพนฺธนี มิควนฺธนี มิคพนฺธีนี : (อิต.) เครื่องดัก, บ่วง. วิ. มิเค พนฺธตีติ มิคพนฺธินี, มิคปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี, อินี วา. ศัพท์ที่ ๒ แปลง พ เป็น ว.
  41. มิคพฺพธ มิคพฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น วธ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์หลัง ดู มิควฺยธ.
  42. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  43. มิคมาตุกา : (อิต.) มิคมาตุกา ชื่อกวางชนิดหนึ่ง แปลว่า เนื้อถึก บ้าง. เป็น ปุ. ก็มี.
  44. มิคว : (ปุ.) ตนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเคหนฺตีติ มิคโว. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น ว. มิเค วนตีติ มิคโว. วนฺ พาธเน, กวิ. ลบที่สุดธาตุ.
  45. มิควฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเควิชฺตีติ มิควฺยโธ. วิธฺ เวธเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  46. มิจฺฉตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ. ความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. สกัด.
  47. มิชฺชน : (นปุ.) ความเจือ, ความเยื่อใย, ความเอ็นดู, ความรัก, ความสนิท. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  48. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  49. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  50. มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1661 sec)